Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กป่วยติดเชื้อและเขตร้อน-โรคไข้เลือดออก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กป่วยติดเชื้อและเขตร้อน-โรคไข้เลือดออก
การพยาบาลระยะที่ 1.ระยะไข้ (febrile stage)
• วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงและบันทึกผลการพยาบา]
• เช็ดตัวเพื่อลดไข้ ถูเบาๆ ไปทิศทางเดียว และวางผ้าเช็ดตัวไว้ที่มีเส้นเลือดแดงใหญ่ เช่นซอกคอ รักแร้ ขาหนีบ
ㆍ15 นาที หลังเช็ด สวมเสื้อผ้าบางๆ
ㆍให้ยาตามแผนการรักษา
ㆍให้สารน้ าตามแผนการรักษา เช่น 5%DNSS
ㆍกระตุ้นให้ดื่มน้ าเกลือแร่บันทึก I/O
ㆍติดตามอาการเลือดออก เช่น เลือดก าเดา อาเจียนเป็นเลือด หรือถ่ายเป็นเลือด
ㆍ ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC, WBC, Platelet และ Hct
การพยาบาลระยะที่ 3. ระยะพักฟื้น(convalescent stage)
• ติดตามอาการทางคลินิกหรือการเปลี่ยนแปลงที่แสดงว่าผู้ป่วยน่าจะเข้าสู่ระยะฟื้นตัวเช่น อาการดีขึ้นอย่างเห็นได้
ชัด ไข้ลด รับประทานอาหารได้มากขึ้น
• การ off IV fluid ทันทีที่มั่นใจว่าผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤติคือ เริ่มรับประทานอาหารได้ ดื่มน้ำได้
• การเฝ้าระวังภาวะน้ำเกิน เพื่อรายงานแพทย์เพื่อให้การรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็ว
ข้อควรพิจารณาก่อนส่งผู้ป่วยกลับบ้าน
ไข้ลดลงอย่างน้อย 24 ชั่วโมงโดยไม่ได้รับยาลดไข้
พ้นจากภาวะช็อก มีสัญญาณชีพคงที่อย่างน้อย 2 วัน
ปัสสาวะออกดี (1-2 มล./กก./ชม.)
ระดับHematocrit ปกติและคงที่ Platelet เท่ากับหรือมากกว่า 50,000 เซลล์/ลบ.มม.
อาการทั่วไปดีขึ้นชัดเจนและกินอาหารได้ด
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น เลือดออก
หอบ ซึม เป็นต้น
การพยาบาลระยะที่ 2. ระยะวิกฤต (critical stage)
1.เฝ้าระวังอาการน าของShockอย่างใกล้ชิด และรายงานแพทย์ทราบทันที
2.วัดสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง หรือถี่กว่านั้นถ้าผู้ป่วยมีอาการไม่คงที่
3.ตรวจเช็คให้มีการเจาะ Hct ทุก 4-6 ชม. หรือถี่กว่านั้นตามแผนการรักษา
4.ตรวจสอบชนิด อัตราความเร็ว และปริมาณของสารน้ำที่ผู้ป่วยจะได้รับให้เป็นไปตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
5.บันทึกปริมาณ intake/ output อย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง หรือถี่กว่านั้นตามความจำเป็น
6.ประสานงานการจัดเตรียมเลือด และอุปกรณ์เครื่องใช้ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วย และให้การดูแลรักษาพยาบาลเป็นพิเศษในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงหรือไม่รู้สึกตัว หรือประสานงานในการย้ายผู้ป่วยเข้า ICU
การป้องกันและควบคุมโรค
ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย เช่น ปิดปากฝาชนะเก็บน้ำ
กำจัดลูกน้ำยุงลายตัวเต็มวัย เช่น การพ่นสารเคมี
วัคซีน