Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร, image, image, image,…
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
ไส้เลื่อนกะบังลม (Diaphragmatie Hernia)
สาเหตุ
อวัยวะในช่องท้องเลื่อนขึ้นไปอยู่ในช่องทรวงอก ผ่านรูโหว่ในกะบังลม
เกิดการกดเบียดปอดของทารกในครรภ์ที่กำลังเจริญเติบโต เกิดภาวะ
ปอดเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์
ทำให้ถุงลม surfactant ของถุงลมปอดลดลง หัวใจห้องล่างซ้ายมี
ขนาดเล็กลง ทำให้แรงต้านของหลอดเลือดพัลโมนารี่สูง กลายเป็น
pulmonaryhypertension เกิดความดันโลหิตในปอดสูงเรื้อรัง
อาการ
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
เวลาร้องแล้วตัวเขียว
พบอกป่อง ท้องแฟบ เสียงลมเข้าปอด
ข้างที่มีพยาธิสภาพเบา
อาจได้ยินเสียงลำไส้ในทรวงอก
การวินิจฉัยโรค
อาการและอาการแสดงทั่วไป
ตรวจร่างกาย การถ่ายภาพรังสีปอด และการ
อัลตราซาวด์ช่วง 10 สัปดาห์แรกในครรภ์มารดา
การรักษา
การดูเเลก่อนผ่าตัด
ดูแลเรื่องอุณหภูมิกายต่ำ การขาดออกซิเจน
ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร
ใส่ท่อช่วยหายใจ ให้ออกซิเจน
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ให้โซเดียมไบคาร์บอน
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในกระแสเลือด
การผ่าตัด
ผ่านทางช่องท้องดึงอวัยวะในช่องท้องกลับมา
เย็บซ่อมแซมกะบังลม
การดูเเลหลังการผ่าตัด
ใช้เครื่องช่วยหายใจต่อไประยะหนึ่ง ป้องกัน PFE
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากปอดเจริญเติบโตไม่
สมบูรณ์และมีการไหลเวียนเลือดลัดวงจรจากขวาไปซ้าย
มีโอกาสเกิดภาวะกรดจากการเผาผลาญ และการหายใจ
จากภาวะพร่องออกซิเจน และมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์
ความพิการของผนังหน้าท้องแต่กําเนิด
(Omphalocele)
สาเหตุ
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง มีการสร้างผนัง
หน้าท้องไม่สมบูรณ์ ไม่มีกล้ามเนื้อหน้าท้อง และผิวหนัง
มีเพียงเยื่อบุช่องท้อง และเยื่อ amnionเป็นผนังคล้ายถุงคลุม
อวัยวะภายในที่ยื่นออก
สายสะดือจะติดอยู่กับถุง
เกิดจากขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อจึงไม่เจริญ ผนังหน้าท้อง
แยกออกจากกัน
ความพิการมักอยู่ด้านขวาของสะดือ ทารกตัวเล็ก เกิดก่อนกำหนด
อาการ
ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
ลำไส้สั้น ลำไส้ผิดรูปตีบหรือตัน
หลังคลอดพบทางเดินอาหารทะลักผ่านรูแคบ
ด้านขวาของสายสะดือออกมาอยู่นอกผนังหน้าท้อง
gastroschisis มี 2 กลุ่ม
antenatal ล าไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้องตั้งแต่ในครรภ์มารดา
ทำให้ลำไส้บวม สั้น และช่องท้องมีขนาดเล็ก
prenatal ลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้องในหลังการเจริญเติบโต
ลำไส้เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ขนาดช่องท้องปกติ
การรักษา Omphalocele และ Gastroschisis
การรักษาแบบประคับประคอง โดยใช้povidine ทาที่ผนังถุง
การรักษาด้วยการผ่าตัด ได้แก่
Primary fascial closure
Staged repair
การรักษาหลังผ่าตัด : การช่วยหายใจ
การให้สารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำและสูญเสียน้ำ เนื่องจากทารกมีพื้นที่ผิว
กายสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น และทารกมักเป็นทารกเกิดก่อนกำหนด
ป้องกันการสูญเสียความร้อน keep warm ,radian warmer
ดูแลบริเวณรอยโรค
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
มีโอกาสได้รับอันตรายจากรอยโรคที่ยื่นออกมา เช่น ลำไส้บิดขาดเลือด
มาเลี้ยง และมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายจากการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อม
ดูแลบริเวณรอยโรคทำความสะอาดอวัยวะที่ยื่นออกมา
กรณีomphalocele ใหญ่ จัดให้นอนตะแคงหรืออาจใช้ผ้าม้วนวางไว้ข้างลำตัว
ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประสิทธิภาพการหายใจลดลง สัมพันธ์กับความดันในช่องท้องสูงขึ้น
จากการน าอวัยวะกลับเข้าช่องท้อง และความเจ็บปวดหลังผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนทางเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินลักษณะการหายใจทุก 1ชั่วโมง
ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร
จัดให้นอนศีรษะสูง 30องศา เพื่อให้กะบังลมหย่อนตัว
เปลี่ยนท่านอนทุก 2ชั่วโมง
มีโอกาสเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือด เนื่องจากหลอด
เลือดใหญ่ถูกกดเบียดจากอวัยวะที่ถูกน ากลับเข้าช่องท้อง
ยกปลายเท้าขึ้นสูงกว่าหัวใจเล็กน้อย
หลีกเลี่ยงการผูกยึดหรือการรัดร่างกายทารก
ติดตามสัญญาณชีพ จำนวนปัสสาวะ และสีของผิวหนังทุก 2 ชั่วโมง