Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ, นางสาวภัคนันท์ ภารมาตย์ รหัสนิสิต…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
ยาขยายหลอดลม
กลุ่มที่ 1
ออกฤทธิ์ที่ตัวรับ เบตา-2 คล้ายกับสาร Norepinephrine ที่ควบคุมการขยายตัวของหลอดลม
กลุ่มที่ 2
ออกฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับ Muscarinic receptors ซึ่งการกระตุ้นตัวรับนี้โดยสาร Ach จะทาให้กล้ามเนื้อเรียบรอบหลอดลมหดตัว
กลุ่มที่ 3
กลุ่ม Xanthine ออกฤทธิ์ขยายกล้ามเนื้อเรียบโดยตรง
ยาออกฤทธิ์ที่ β-2 receptors
เป็นสารที่หลั่งจากต่อมหมวกไต ออกฤทธิ์จับที่ตัวรับ β-1 และ β-2 ออกฤทธิ์เร็วเมื่อฉีดเข้าใต้ผิวหนัง นิยมใช้ในกรณีเกิดอาการหอบหืดเฉียบพลัน
ฤทธิ์ส่วนใหญ่ได้จากการหลั่ง Norepinephrine การออกฤทธิ์จึงขึ้นอยู่กับประมาณ Norepinephrine หากใช้ยาติดต่อกันฤทธิ์อาจจะลดน้อยลง
Isoproterenol ออกฤทธิ์ได้ทั้ง β-1 และ β-2 ในอดีตนิยมใช้เป็นยาพ่น ปัจจุบันความนิยมลดน้อยลง เพราะมียาที่ออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงกับ β-2 มากขึ้น
ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ คือ ทาให้เกิดอาการสั่น หัวใจเต้นแรงและเร็ว
ข้อควรระวัง ยาขยายหลอดลมในกลุ่มออกฤทธิ์ต่อ β-1 ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง
ยาปิดกั้นตัวรับมัสคารินิก
สารสกัดจากต้น Datura stramonium
สามารถนามาใช้ในการรักษาโรคหืดได้
มีฤทธิ์ต้านการออกฤทธิ์ของ Ach ที่ Muscarinic
จึงมีการพัฒนายาใหม่ ชื่อ Ipratropium bromide
เพื่อให้เข้าสู่กระแสเลือดน้อยลง
แต่มีประสิทธิภาพน้อยกว่ายากลุ่มกระตุ้นตัวรับ β-2
หากใช้ร่วมกับ Albuterol / Salbutamol ในการรักษาอาการหืดเฉียบพลัน
พบว่า Ipratroprium จะเพิ่มประสิทธิภาพของ Albuterol
อาการไม่พึงประสงค์ คือ หัวใจเต้นแรง ตาพร่า ปวดศีรษะ
ยากลุ่ม Xanthine
Theophylline ออกฤทธิ์ขยายหลอดลมได้น้อยกว่า ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับ β-2
แต่มีข้อดีคือออกฤทธิ์ได้นานกว่า
มีประโยชน์ในผู้ป่วยที่มีอาการหอบหืดในเวลากลางคืน
ออกฤทธิ์โดยยับยั้งเอนไซม์ Phosphodiesterase
ที่ทาลาย cyclic AMP ทาให้ cyclic AMP เพิ่มมากขึ้น
อาการไม่พึงประสงค์
ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
กระวนกระวาย นอนไม่หลับ
ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อสั่น ใจสั่น
การให้ยาจะต้องปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคน
เนื่องจากมีการดูดซึมยาและการขับยาออกจากร่างกายที่แตกต่างกัน
ยาต้านการอักเสบ
เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงในการรักษาโรคหืดในรูปแบบยาพ่น
ออกฤทธิ์โดยเพิ่มจานวนตัวรับและการตอบสนองของ β-2
การลดการผลิตน้าเมือกและลดการหลังน้าเมือก
ยับยั้งกระบวนการอักเสบทุกขั้นตอน
ลดการสังเคราะห์และการหลั่งสารพวกไซโซคายส์
ลดการซึมผ่านผนังหลอดเลือด
อาการที่ไม่พึงประสงค์
การเจริญเติบโตในเด็กลดน้อยลง กล้ามเนื้อลีบ
กระดูกผุหักง่าย
อาการบวมน้า ใบหน้าบวมกลม
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่า
ความดันโลหิตสูง
ความผิดปกติทางอารมณ์
เกิดเชื้อราในบริเวณที่พ่นยา
สียงแหบจากกล้ามเนื้อกล่องเสียงเสียหาย
ยาป้องกันการหลั่ง
Cromulyn sodium และ Nedocromil sodium
ออกฤทธิ์ป้องกันเกิดอาการกาเริบเมื่อได้รับแอนติเจน
ใช้ได้ผลในผู้ป่วยที่มีอาการหืดไม่รุนแรง
ออกฤทธิ์โดยทาให้เซลล์มาสต์ไม่แตกสลาย
ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีทางเดินหายใจอยู่ในสภาพเกือบปกติ
หากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจให้ใช้ยาเสตอรอยด์หรือยาขยายหลอดลม β-2
อาการไม่พึงประสงค์
พบได้น้อยมาก อาจพบอาการไอหรือหายใจออกมีเสียง
การออกฤทธิ์ของสารเคมีจากเซลล์มาสต์
ยาต้านฤทธิ์ของสารเคมีจากเซลล์มาสต์
ยาต้านฮีสตามีน (Antihistamine)
ใช้ประโยชน์ในผู้ป่วย Allergic rhinitis
กลุ่มทานแล้วง่วง
ใช้ลดน้ามูก อาการแพ้ คัน
ใช้ได้เร็ว ราคาถูก
ทาให้หลับสบาย พักผ่อนเต็มที่
ทานแล้วจะปากคอแห้ง
รบกวนการทางานและทาให้เกิดอุบัติเหตุได้
Chlorpheniramine maliate, Brompheniramine
กลุ่มทานแล้วไม่ง่วง
มีราคาแพง ออกฤทธิ์ช้า
ไต่ไม่ทาให้ง่วงนอน
เหมาะกับภูมิแพ้เรื้อรัง หวัดเรื้อรัง
ไซนัสอักเสบ
Cetirizine, Loratidine, Fexofenadine
ยาต้าน Leukotrienes
Zafirlukast, Montelukast และ Zileuton
ออกฤทธิ์ยับยั้งการออกฤทธิ์LTC4, LTD4 และ LTE4
มีผลลดการซึมผ่านเยื่อหุ้มหลอดเลือดฝอย
ลดการบวมของทางเดินหายใจ
ลดการตอบสนองต่อ Allergen ที่สูดดมเข้าไป
Zafirlukast มีปฏิกิริยาต่อ Warfarin
ทาให้เกิด Prolonged prothrombin time
ยาลดอาการคัดจมูก (Decongestant)
ตัวยาสาคัญ คือ Phenylephrine
ตามร้านขายยา
จะเป็นยาสูตรผสม ยาแก้แพ้ลดน้ามูก กับ Phenylephrine
ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเกิน 5 วัน
เพราะจะทาให้ไม่ได้ผล
ระวังการใช้ในเด็ก ผู้ป่วยโรคหัวใจ
ความดันโลหิตสูง เสมหะเหนียว
ยาสูตรผสมแก้หวัด
เป็นยาสูตรผสมของ
ยาแก้ไขลดปวด + ยาลดน้ามูก + ยาแก้คัดจมูก
ก่อนใช้ยาควรศึกษาส่วนประกอบของยา
เพื่อลดการซ้าซ้อนของยาจนเกินขนาดยา
ยาแก้ไอ (Antitussive)
ใช้เพื่อลดจานวนครั้งของการไอลง
แบ่งออกเป็น Narcotic antitussive
กับ Nonnarcotic antitussive
Dextromethrophan, Benonanate, Diphenhydramine
Codeine, Hydrocodone, Hydronorphone
Codeine
เป็นยาระงับไอที่ใช้กันแพร่หลาย
มีประสิทธิภาพดี ออกฤทธิ์กดศูนย์การหายใจน้อย
มีความเสี่ยงในการติดยาน้อยกว่าชนิดอื่น
อาจมีการผสมร่วมกับยาอื่นๆ
ยาต้านฮีสตามีน
ยาลดการคัดจมูก
ยาขับเสมหะ
ยาระงับปวดลดไข้
อาการที่ไม่พึงประสงค์
ศีรษะเบา มึนงง ง่วงนอน
เหงื่อออก คลื่นไส้
Hydrocodone
ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับ Codeine แต่ทาให้ติดยาได้มากกว่า
ไม่มีตารับยาเดี่ยว จะผสมร่วมกับยาอื่น เช่น ยาต้านฮีสตามีน ยาขับเสมหะ
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติติดยาเสพติด
ใช้ระมัดระวังในผู้ป่วยโรคหอบหืด โรคหัวใจ โรคลมชัก
การใช้ยาร่วมกับแอลกอฮอล์ ยานอนหลับ ยาต้านซึมเศร้า ยากดประสาทส่วนกลาง
จะเสริมฤทธิ์กัน ทาให้ง่วงนอนมาก ความดันโลหิตต่า และกดศูนย์การหายใจ
Hydronorphone
ออกฤทธิ์ที่สมองส่วนกลาง ที่ศูนย์ควบคุมการไอ มักผสมยาขับเสมหะร่วมด้วย
ใช้ในผู้ป่วยไอเรื้อรัง แต่เสี่ยงติดยาสูงกว่ายาชนิดอื่นๆ
Dextromethorphan
ออกฤทธิ์กดสมองส่วนกลางน้อยมาก ไม่มีฤทธิ์ลดความเจ็บปวด ไม่ทาให้เกิดอาการท้องผูก
ออกฤทธิ์ที่ศูนย์ควบคุมการไอที่สมองส่วนเมดัลลา มักผสมร่วมกับ ยาต้านฮีสตามีนและยาขับเสมหะ
อาการข้างเคียง คือ มึนงง ง่วงนอน ไม่สบายท้อง
Benonatate
ออกฤทธิ์กดการทางานของ Streth receptor ในทางเดินหายใจ ส่งผลให้การไอลดลง ใช้ระงับการไอแห้งๆ
อาการข้างเคียง คือ ง่วงนอน มึนงง คัดจมูก ท้องผูก คลื่นไส้ ไม่สบายท้อง คัน แสบตา
ถ้าได้รับยาในขนาดสูง อาจเกิดการกระตุ้นสมองส่วนกลาง กระวนกระวาย สั่น และชัก
Diphenhydramine
เป็นยาต้านฮีสตามีน ใช้ในการควบคุมการไอ ซึ่งเกิดจากหวัด แพ้อากาศ
อาการข้างเคียง คือ ง่วงนอน
ยาระงับไอ ขับเสมหะ และละลายเสมหะ
ช่วยในการกาจัดเสมหะที่ข้นเหนียวออกจากทางเดินหายใจ
โดยเพิ่มส่วนประกอบที่เป็นของเหลวทาให้ขับออกได้ง่าย
Guaifenesin / Glyceryl guaiacolate
ช่วยเพิ่มประมาณของเหลวในทางเดินหายใจ
ส่งผลให้เสมหะที่เหนียวข้นหลุดออกมาได้ง่าย
ช่วยระงับอาการไอแห้ง
การใช้ยาในขนาดสูงจะทาให้คลื่นไส้ อาเจียน ง่วงนอน
Potassium iodide
นามาใช้ในการขับเสมหะ ออกฤทธิ์โดยเพิ่มของเหลวจากเซลล์ในทางเดินหายใจ
ทาให้เสมหะที่ข้นเหนียว อ่อนตัวลง และถูกขับออกมาได้ง่าย
อาการข้างเคียง คือ ไม่สบายท้อง ปวดจุกบริเวณลิ้นปี่ เจ็บคอ
จาม น้าลายมาก ท้องเดิน
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะต่อมไทรอยด์หลั่งมากเกินไป
ระดับโพสแทสเซียมในเลือดสูง และผู้ป่วยโรคไต
Ammonium chloride
ใช้ขับเสมหะ โดยการกระตุ้นการหลั่งของเหลวในทางเดินหายใจ
อาการข้างเคียง คือ ทาให้เกิดการระคายเคืองในทางเดินอาหาร ไม่สบายท้อง
ยาในขนาดสูงทาให้เกิด Metabolic acidosis
Terpin hydrate
ออกฤทธิ์โดยตรงต่อต่อมหลั่งน้าเมือกในทางเดินหายใจ
ลักษณะเป็นยาเตรียมมีแอลกอฮอล์ประมาณร้อยละ 40
อาจจะทาให้ง่วงนอน และไม่สบายท้อง
ยาละลายเสมหะ (Mucolytic)
Acetylcysteine
ออกฤทธิ์พันธะ Disulfide ของ Mucoprotein
งเป็นองค์ประกอบของน้าเมือก ทาให้เมือกมีความเข้มข้นน้อยลง
การสลายน้าเมือกทาได้ดีเมื่อค่า pH อยู่ระหว่าง 7-9
อาการข้างเคียง คือ คลื่นไส้ อาเจียน น้ามูกไหล
กระเพาะอาหารอักเสบ มีไข้ แน่นหน้าอก หลอดลมเกร็งตัว
ผิวหนังแตกอักเสบ
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยมีประวัติโรคหืด
จะไม่ผสมร่วมในสารละลายกับยาปฏิชีวนะ
ทาให้ประสิทธิภาพของยาอื่นๆลดลง
นอกจากนี้ยังมียาอื่น เช่น Bromhexine, Ambroxol
นางสาวภัคนันท์ ภารมาตย์ รหัสนิสิต 6305010136