Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดสัมมนา - Coggle Diagram
การจัดสัมมนา
องค์ประกอบของการสัมมนา
ด้านเนื้อหา
ชื่อเรื่อง
ควรเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาปัญหา หาแนวทางแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับงานหรือเรื่องที่กำลังศึกษาอยู่และเป็นเรื่องที่ตนเองถนัด รู้แจ้ง รู้ลึกซึ้งเป็นอย่างดี
มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาการณ์ปัจจุบัน
สามารถก าหนดปัญหา หาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
เป็นเรื่องที่ไม่กว้าง ไม่แคบจนเกินไป ควรเป็นเรื่องที่มีขอบเขตเฉพาะเรื่องสามารถกำหนดปัญหา และแนวทางการดำเนินการจัดสัมมนาได้ชัดเจน
จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา
เพื่อศึกษาและส ารวจปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อยู่ในความสนใจ
เพื่อให้ได้วิธีการหรือแนวทางในการแก้ปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เพื่อศึกษาค้นคว้าวิจัยในเรื่องที่มีความจ าเป็นเร่งด่วน
เพื่อเรียนรู้ และมีการแลกเปลี่ยนผลของการศึกษาค้นคว้าวิจัยระหว่างผู้เรียนที่เรียนร่วมกัน
เพื่อร่วมพิจารณาหาข้อสรุปผลรายงานการศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่สนใจ
กำหนดการสัมมนา
ชื่อกลุ่มสาระวิชา กลุ่มบุคคลผู้ด าเนินการ หรือผู้รับผิดชอบจัดสัมมนา
ชื่อเรื่องสัมมนา
วัน เดือน ปี ที่จัดสัมมนา
สถานที่จัดสัมมนา
ผลที่ได้จากการสัมมนา
เป็นสิ่งที่ผู้จัดสัมมนาได้คาดหวังว่าการจัดสัมมนาจะ
ทำให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับผลประโยชน์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
ด้านบุคลากร
บุคลากรฝ่ายจัดสัมมนา
ประธาน รองประธาน เลขานุการ
ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายเอกสาร ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายพิธีการ ฝ่ายอาคารสถานที่
ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายปฏิคม และฝ่ายประเมินผล
วัสดุอุปกรณ์ สื่อทัศนูปกรณ์
วิทยากร คือบุคคลที่ทำหน้าที่เป็นผู้บรรยาย ผู้นำอภิปราย และเป็นผู้
ถ่ายทอดความรู้
ผู้เข้าร่วมสัมนา
ด้านสถานที่
ห้องประชุมใหญ่
หมายถึง ห้องประชุมขนาดใหญ่ที่ใช้ในการสัมมนา กำหนดที่นั่ง สามารถบรรจุผู้เข้าร่วมสัมมนาได้จำนวนมาก ควรระบุสถานที่ตั้ง และการเดินทางเข้าถึง สถานที่จัดสัมมนา
ห้องประชุมขนาดกลางหรือขนาดเล็ก
อาจต้องมีมากกว่าหนึ่งห้อง ควรอยู่ในพื้นที่ใกล้กัน หรือบริเวณเดียวกันกับห้องประชุมใหญ่ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการร่วมกิจกรรม หรือประสานงานหากมีปัญหา และเพื่อความสะดวกในการเดินทางมายังห้องประชุมใหญ่
ห้องรับรอง
เป็นห้องที่ใช้สำหรับรับรองวิทยากร แขกพิเศษ เพื่อให้พักผ่อนหรือ
เตรียมตัวก่อนการสัมมนา แต่ถ้าสถานที่มีพื้นที่จำกัด อาจใช้ส่วนหน้าของห้องประชุมจัดวางโต๊ะ รับแขก สามารถใช้ประโยชน์บนพื้นที่ดังกล่าวได้
ห้องรับประทานอาหารว่างมุมพักผ่อนนอกห้อง
เป็นพื้นที่จัดไว้สำหรับให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้มาพัก
รวมทั้งเป็นจุดพักรับประทานอาหารว่าง
อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์
ชุดไมโครโฟนชนิดตั้งโต๊ะไมโครโฟนชนิดตั้งพื้น ไมโครโฟนไร้สาย ไมโครโฟนชนิดเล็กใช้หนีบติดปกคอเสื้อ
เครื่องขยายเสียง เครื่องฉาย โปรเจกเตอร์โน้ตบุ๊ค
อุปกรณ์ไฟฟ้าเกี่ยวกับเครื่องเสียง สี แสง และอื่นๆ
ห้องรับประทานอาหาร
จัดไว้สำหรับให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมรับประทานอาหารอาจเป็นทั้งห้องรับประทานอาหารเช้า กลางวันและหารเย็นในพื้นที่เดียวกัน
อุปกรณ์เครื่องมือ
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องปริ้นเตอร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จำเป็นในการจัดทำเอกสารประกอบคำบรรยายเอกสารสรุปการจัดสัมมนา
อุปกรณ์ด้านเครื่องเขียนเครื่องใช้สำนักงานที่มีความจำเป็นมีไว้ใช้
ดินสอ ปากกา ปากกาสำหรับเขียนกระดานไวท์บอร์ด น้ำยาลบคำผิด
กระดาษถ่ายเอกสาร กระดาษใช้พิมพ์งาน เครื่องเขียน ไม้บรรทัด คลิปเสียบ
ป้ายชื่อติดหน้าอกผู้เข้าร่วมสัมมนาคณะกรรมการแต่ละฝ่าย
ด้านเวลา
ระยะเวลาสำหรับการเตรียมการ
ผู้จัดสัมมนาควรวางแผนปฏิบัติงานให้ ชัดเจนว่างานแต่ละอย่างแต่ละประเภทที่ต้องทำนั้นจะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะแล้วเสร็จ จนถึงวันที่จะต้องจัดสัมมนาเพราะงานบางอย่างต้องทำล่วงหน้าก่อน
การเชิญวิทยากร
วัน เวลา ที่ใช้ในการสัมมนา
ด้านงบประมาณ
จัดประมาณการค่าใช้จ่าย
จัดประมาณการค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดของฝ่ายตนเองออกมาในรูปของบัญชีค่าใช้จ่าย นำเสนอฝ่ายเหรัญญิกและที่ประชุม เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมสำหรับค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องจัดซื้อ ควรมีรายการ
ราคาตามท้องตลาด หรืออาจใช้วิธีสืบราคาวัสดุอุปกรณ์เหล่านั้นก่อน
เพื่อการประมาณค่าใช้จ่าย
จัดทำงบประมาณรวม
จัดประชุมแต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ มอบหมายงานในหน้าที่ต่างๆ จัดทำ
แผนงบประมาณค่าใช้จ่ายของฝ่ายตนขึ้นมา นำเสนอต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณา
ร่วมกัน
เมื่องบประมาณแต่ละฝ่ายได้รับการเห็นชอบแล้วต้องนำงบค่าใช้จ่ายของ
แต่ละฝ่ายมาลงในโครงการ โดยแยกค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้จ่ายที่ต้องจ่ายจริงเป็นเงินเท่าใด
อาจแนบรายละเอียดค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายไปพร้อมโครงการเพื่อให้ฝ่ายบริหาร หรือผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติ ในกรณีที่แต่ละฝ่ายต้องการเบิกเงินจากเหรัญญิก เพื่อนำไปใช้จ่ายในฝ่ายของตน
ขั้นตอนของการจัดสัมมนา
ขั้นเตรียมการจัดสัมมนา
สํารวจประเด็นปัญหา
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการทำงาน หรือปัญหาที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน
ความต้องการของบุคลากร โดยรวบรวมข้อมูลจากแบบสํารวจความคิดเห็น แบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ์
1.3 ใช้การจดัประชุมสัมมนาช่วยให้บุคลากรในหน่วยงานเข้าใจนโยบายของหน่วยงานและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
ตั้งคณะกรรมการกลาง
หาหัวข้อเรื่องที่จะใช้ในการประชุมสัมมนา โดยการรวบรวม และแยกแยะในประเด็นปัญหาต่างๆ
พิจารณาบุคคลหรือผู้เชี่ยวชาญที่จะเชิญเข้าร่วมการประชุมสัมมนา
พิธีเปิด พิธีปิดการสัมมนา ตลอดจนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในฝ่ายต่างๆ
พิจารณาแผนการและจัดเตรียมขั้นตอนในการดาํเนินการว่าช่วงใดควรจะจัดการอย่างไร เพื่อจะได้เตรียมจัดให้มีพิธีการต่างๆในแต่ละช่วงนั้นได้เหมาะสม
พิจารณาแนวทางในการประชาสัมพันธ์วิธีการประเมินผล ตลอดจนการเผยแพร่รายงานผลการประชุมสัมมนา หรือผลสรุปของการประชุมสัมมนาได้อย่างเหมาะสม
พิจารณาและเสนอการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มเตรียมงานจนกระทั่งสิ้นสุดการประชุมสัมมนา
พิจารณาปัญหาอื่นๆที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ในขั้นการเตรียมงาน ขั้นดำเนินการประชุมสัมมนา และขั้นหลังการดำเนินการสัมมนา
พิจารณาเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม
เขียนโครงการสัมมนา
ชื่อโครงการ
1.1 ตั้งชื่อตามลกัษณะของผู้เข้าประชุมสัมมนา
1.2 ตั้งชื่อตามเนื้อหาที่จะประชุมสัมมนา
1.3 ตั้งชื่อตามกิจกรรมที่ประชุมสัมมนา
1.4 ตั้งชื่อตามตามปัญหาที่จะประชุมสัมมนา
ผู้รับผิดชอบโครงการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้า้ร่วมการประชุมสัมมนา
วิทยากร
ระยะเวลา
สถานที่
วิธีการประชุมสัมมนา
งบประมาณ
การประเมินผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กำหนดการประชุมสัมมนา
ดำเนินงานเตรียมการสัมมนา
4.1 การประชาสัมพันธ์การประชุมสัมมนาให้ผู่ที่เกี่ยวข้องทราบ
4.2 ติดต่อเชิญวิทยากรที่จะมาให้ความรู้แก่ผู้เข้าประชุมสัมมนา
4.3 เชิญผู้เข้าร่วใการประชุมสัมมนา
4.4 การเตรียมการ ด้านสถานที่และอุปกรณ์
4.5 เตรียมการด้านการลงทะเบียน
4.6 เตรียมการด้านเอกสารแจกผู้เข้าร่วมการประชุมสัมมนา
4.7 เตรียมการสําหรับพิธีเปิด–พิธีปิดการประชุมสัมมนา
ขั้นดำเนินการจัดสัมมนา
ลงทะเบียน
เปิดการสัมมนา
จัดประชุมกลุ่มใหญ่
จัดประชุมกลุ่มย่อย
จัดประชุมรวม
ปิดการสัมมนา
ขั้นหลังการจัดสัมมนา
วิเคราะหผ์ลการศึกษา
รายงานผู้บังคับบัญชา
รายงานหน่วยงานที่เกี่ยงข้อง
ดำเนินงานงบประมาณ
ติดตามผลและวิเคราะห์
ประโยชน์ของการสัมมนา
ประโยชน์ต่อตนเอง
ช่วยเพิ่มทักษะ ความรู้ความสามารถ น าไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
ช่วยให้สามารถปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ
ช่วยให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมที่จะทำงาน กล้าเผชิญปัญหา
ช่วยให้เป็นผู้รู้จักศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีค่าขององค์กรและประเทศชาติ
ช่วยให้รู้จักบุคคลหรือมิตรมากขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการประสานการทำงานให้พัฒนาก้าวหน้าต่อไปได้
ประโยชน์ต่อองค์กร
ช่วยเสริมสร้างทัศนคติที่ถูกต้องในการปฏิบัติงานของบุคลากรและเป็นที่พึงประสงค์ของหน่วยงาน
ช่วยเสริมสร้างขวัญก าลังใจในการท างานแก่ผู้ปฏิบัติงาน
ช่วยยกระดับความสามารถของบุคลากรในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามทิศทางเป้าหมาย และนโยบายขององค์การ
ช่วยประหยัดงบประมาณรายจ่าย
ทำให้เกิดความสามัคคีในหน่วยงาน การสัมมนา และการฝึกอบรมจะทำให้บุคลากรมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันละกัน ช่วยให้เกิดความเข้าใจกันมากยิ่งขึ้น
ช่วยเพิ่มผลผลิตในการบริหารจัดการ
ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่เกิดขึ้นได้
ช่วยให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ และมีประสบการณ์โดยมีผลกระทบต่องานที่ปฏิบัติ
ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนผู้ปฏิบัติงาน โดยการเพิ่มคุณภาพของผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่จำกัดแทนการเพิ่มงบประมาณ หรือเพิ่มจำนวนผู้ปฏิบัติงาน
ความหมายของการสัมมนา
หมายถึง การประชุมเพื่อ แสวงหาความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และความคิดเห็น โดยมีวัตถุประสงค์หรือการศึกษาในเรื่องเดียวกัน รวมทั้งร่วมวิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางแก้ไข และหาข้อสรุปร่วมกัน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมร่วมกัน
วัตถุประสงค์ของการสัมมนา
เพื่อเพิ่มพูนและเติมเต็มความรู้ความสามารถ ทักษะประสบการณ์ทั้งด้านวิชาการหรือด้านวิชาชีพแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนาโดยตรง
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันและกันของผู้เข้าร่วมสัมมนากับวิทยากรหรือผู้เชียวชาญในเรื่องหรือสาขาวิชาเฉพาะทางนั้นๆ
เพื่อให้ได้แนวทางสรุป ประกอบการตัดสินใจ หรือหาแนวทางการแก้ปัญหา หรือกำหนดนโยบายของหน่วยงาน องค์กรบางประการ
เพื่อค้นหาคำตอบ วิธีการแก้ปัญหาหรือแนวทางการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติร่วมกัน
เพื่อสร้างความตระหนักหรือกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา นำหลักการวิธีการเรียนรู้หรือแนวทางปฏิบัติไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อหน้าที่และภาระงานที่ปฏิบัติหรือรับผิดชอบต่อไป
ลักษณะของการสัมนาที่ดี
ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินการประชุมสัมมนา เพื่อให้งานสัมมนาบรรลุเป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้พูดที่ดี
ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้ฟังที่ดี
มีผู้นำที่ดี
ผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องใช้ความคิดร่วมกันในการแก้ปัญหา
ผู้เข้าร่วมสัมมนามีทัศนคติที่ดีต่อปัญหา ข้อเท็จจริง ผู้เข้าร่วมสัมมนา และตนเอง
จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และข้อเท็จจริงร่วมกัน
จัดให้มีกิจกรรมในการเรียนรู้ร่วมกัน
จัดให้มีกิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบวัตถุประสงค์ของการสัมมนา
คุณสมบัติของผู้เข้าร่วมการสัมนาที่ดี
เป็นผู้ที่ชอบแสวงหาความรู้ใหม่ๆ มีความคิดกว้างไกล
รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คิดก่อนพูดอย่างมีหลักการและเหตุผล
รู้จักกาลเทศะ มีสปิริต
แสดงความคิดเห็นในโอกาสและจังหวะที่เหมาะสม
ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการสัมมนา
มีมารยาทในการสมาคม
ประโยชน์
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสัมมนา ได้แก่ ความหมายของการสัมนา วัตถุประสงค์ของการสัมนา ประโยชน์ของการสัมนา องค์ประกอบของ
การสัมนา ลักษณะของการสัมมนาที่ดี และขั้นตอนการจัดสัมนา ได้แก่
ขั้นเตรียมการจัดสัมมนา ขั้นดำเนินการจัดสัมมนา ขั้นหลังการจัดสัมมนา ซึ่งในแต่ละหัวข้อได้กล่าวถึงรายละเอียดต่างๆได้อย่างชัดเจน สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการจัดสัมมนาในบทเรียนได้