Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความสูงอายุ, นางสาวมุทิตา แสงเรือง นักศึกษายาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 …
ทฤษฎีความสูงอายุ
1.ทฤษฎีทางชีววิทยาประกอบด้วย 9 ทฤษฎี
Wear and Tear Theory เป็นทฤษฎีว่าด้วยการเสื่อมและถดถอย เชื่อว่ายิ่งใช้งานอวัยวะส่วนใดมาก ก็จะทำให้อวัยวะส่วนนั้นเสื่อมเร็วขึ้น
Depruvation Theory เป็นทฤษฎีว่าด้วยการดูดซึมบกพร่อง เชื่อว่า เมื่ออายุมากขึ้นจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ทำให้การดูดซึมและการนำส่งออกซิเจนลดลง
Immunological Theory เป็นทฤษฎีว่าด้วยภุมิคุ้มกัน เชื่อว่าอายุมากขึ้นร่างกายจะมีภูมิคุ้มกันน้อยลง พร้อมกับสร้างภูมิเพื่อทำลายตัวเอง ทำให้เซลล์ของร่างกายถูกทำลาย เช่น สมอง หัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจ
Accumulation Theory เป็นทฤษฎีการสะสม เกิดจากการสะสมของ lipofuscin (มีส่วนประกอบของไขมัน โปรตีน) เมื่ออายุมากขึ้นผิวหนังจะเป็นจุด age pigment หรือรงควัตถุ ทำให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน พบมากในเนื้อเยื่อตับ
Collagen Theory คือทฤษฎีว่าด้วยคอลลาเจน เชื่อว่าเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ สารที่เป็นส่วนประกอบของคอลลาเจน และไฟบลัสโปรตีนจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น และเกิดการจับตัวกันมากทำให้เส้นใยหดสั้นเข้า ปรากฏรอยย่นมากขึ้น ถ้าอยู่ตรงข้อต่อจะมองเห็นปุ่มกระดูกชัดเจน
Stress Adaptation Theory เป็นทฤษฎีความเครียดและการปรับตัว เชื่อว่าความเครียดที่เกิดขึ้นสามารถทำลายเซลล์
Genetic Theory เป็นทฤษฎีว่าด้วยยืน เชื่อว่าการสูงอายุนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างอวัยวะบางส่วนของร่างกาย เช่น ศีรษะล้าน ผมงอกเร็ว
Free radical Theory เป็นทฤษฎีสารอนุมูลอิสระที่เกิดจากการเผาผลาญ การหายใจรับอนุมูลอิสระเข้าไป เกิด Supperoside radical oxygen เกิดการทำลายของเซลล์
Somatic Mutation and Error Theories เป็นทฤษฎีว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงและความผิดพลาดของเซลล์ร่างกาย การได้รับรังสีเล็กน้อยเป็นประจำ หรือได้รับขนาดสูงทันทีจะมีผลทำให้เซลล์ชีวิตสั้นลง สำหรับทฤษฎีความผิดพลาดเชื่อว่าเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง DNA ทำให้เกิดเป็นมะเร็ง
3.ทฤษฎีสังคมวิทยา ประกอบด้วย 5 ทฤษฎี
Age Stratification Theory ทฤษฎีระดับชั้นอายุ อายุเป็นหลักเหณฑ์ในการเปลี่ยนแปลงบทบาทตามช่วงอายุ
Continuity Theory เป็นทฤษฎีความต่อเนื่อง คือ ผู้สูงอายุที่มีการทำกิจกรรมและแสวงหาบทบาททางสังคมและทำแบบเดิมที่ตนเคยทำมาก่อน เช่น ครูหลังกาียณ ก็ยังไปสอนเด็กๆที่โรงเรียนวัด
Role Theory เป็นทฤษฎีบทบาท เชื่อว่า การปรับตัวเป็นผู้สูงอายุน่าจะเกี่ยวข้องกับทฤษฎีบทบาท คือ บุคคลนั้นจะรับบทบาทที่ต่างไปตลอดช่างชีวิต
disenggagement Theory เป็นทฤษฎีการแยกตนเอง เชื่อว่า ผู้สูงอายุที่ไม่เกี่ยวข้องกับสังคม เป็นเพราะการถอนสถานภาพบทบาทของตนเอง
Activity Theory เป็นทฤษฎีกิจกรรม ผู้สูงอายุที่มีการทำกิจกรรมหลังจากเกษียนอายุแล้วและทำกิจกรรมที่แตกต่างจากงานที่เคยทำ เช่น มีอาชีพครูหลังเกษียณไปทำกิจการขายของ
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
ผู้สูงอายุจะมีสภาพร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคมเป็นไปในทางเสื่อมถอยลง
ผู้สูงอายุแต่ละคนจะมีรูปแบบการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างกันตามปัจจัยแสดล้อมของแต่ละบุคคล
ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีคุณค่าและได้ทำประโยชน์ให้สังคมเป็นระยะเวลายาวนาน
เกณฑ์การพิจารณาความเป้นผู็สูงอายุ
2.ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย (Phsiological aging/Biological aging)
4.บทบาททางสังคม (Sociological aging)
1.อายุที่ปรากฏจริง (Chronological aging)
3.ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ (Psychological aging)
2.ทฤษฎีทางจิตวิทยา ประกอบด้วย 2 ทฤษฎี
Personality Theory เป็นทฤษฎีบุคลิกภาพ คือการที่ผู้สูงอายุจะมีความสุข หรือมีความทุกข์ ขึ้นอยู่กับภูมิหลัง และการพัฒนาจิตของผู้นั้น
Intelligence Theory เป็นทฤษฎีความปราดเปรื่อง เชื่อว่า ผู้สูงอายุยังมีความปราดเปรื่องและยังคงความเป็นปราชญ์
นางสาวมุทิตา แสงเรือง นักศึกษายาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 เลขที่ 61 รหัสนักศึกษา 621801064