Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีความเสี่ยงสูง - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกที่มีความเสี่ยงสูง
การจำแนกประเภททารกแรกเกิด
จำแนกตามอายุครรภ์
normal birth weight infant น้ำหนักแรกเกิด 2,500 - 4,000 กรัม
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (term or mature infant) 37 สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์เต็ม
ทารกคลอดก่อนกำหนด (preterm infant) 37 สัปดาห์เต็มหรือต่ำกว่านี้
ทารกแรกเกิดเกินกำหนด (term or mature infant) 41 สัปดาห์
จำแนกตามน้ำหนัก
low birth weight infant น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
ทารกมีน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
ทารกมีน้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
ระบบการหายใจ
RDS (Respiratory Distress Syndrome)
ปัจจัยที่เสี่ยง
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีภาวะ hypothermia, Perinatal asphyxia
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
อาการและอาการแสดงอาการ
เกิดภายใน 4-6 ชั่วโมงหลังคลอด รุนแรงมากขึ้นภายใน 24-36 ชั่วโมง
เมตาบอลิซึม
Hypoglycemia ภาวะ acidosis
ระบบประสาท
ซึม กระสับกระส่าย reflex ลดลงกระหม่อมโปร่งตึง
3.ระบบทางเดินอาหาร
ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
2.ระบบทรวงอก
หน้าอกปุ่ ม (retraction) บริเวณ Intercostal, Subcostal และ Substernal retraction จากการหดตัวอย่างแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ
ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบทางเดินหายใจ
หายใจเร็ว (tachypnea) มากกว่า 60 คร้ัง / นาทีหรือหายใจลำบาก (dyspnea)
หายใจหน้าอกและหน้าท้องไม่สัมพันธ์กัน
เสียงหายใจผิดปกติมีการกลั้นหายใจขณะหายใจออก (expiratory grunting)
ซีด
BP ต่ำ
ระบบผิวหนัง
ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
พบได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนดที่ GA<34-36 wks น้ำหนักตัว < 1,500 gm.
การรักษา
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้นและอัตราไหลของออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
ให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก เช่น การใช้เครื่องช่วยหายใจ
คือภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
สาเหตุ
• เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
• โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
• ซึ่งสาร surfactant ทำหน้าที่ให้ถุงลมคงรูปไม่แฟบขณะหายใจออก
สร้างจาก aveolar call type II ที่ผนังถุงลมเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 22-24wks
และสร้างมากขึ้นจนเพียงพอหลัง 35 wks
การป้องกัน
มารดาที่มีความเสี่ยงจะคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตกโดยเฉพาะอายุครรภ์ 24-34 สัปดาห์ ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอด
Betamethazone 12 mg ทางกล้ามเนื้อทุก24 ชั่วโมงจนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 mg ทางกล้ามเนื้อทุก12 ชั่วโมงจนครบ 4 ครั้ง
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด ซึ่งจะทำให้เลือดเป็นกรดขัดขวางการทำงานของการสร้างสารลดแรงตึงผิว
Apnea of prematurity (AOP)
obstruction apnea ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
สาเหตุ
prematurity
infection
metabolic disorder
Impaired oxygenation
CNS problem
drug
Gastroesophageal reflux
central apnea ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที ร่วมกับมี cyanosis
Intraventricular hemorrhage (IVH)
อาการ
ในรายที่มีเลือดออกปริมาณมากและเร็ว
ทารกจะมีอาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว หมดสติ ชักเกร็ง หยุดหายใจ ซีด และกระหม่อมหน้าโป่งตึง
เลือดออกไม่มาก
ทารกอาจไม่มีอาการหรือเพียงแต่ซีดลงเท่านั้น บางรายอาจมีอาการซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นพักๆ
การวินิจฉัย
การตรวจ ultrasound
ปัจจัยเสี่ยงแบ่งเป็น
ช่วงก่อนคลอด
การคลอดทางช่องคลอด ภาวะทารกขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์ ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
ช่วงหลังคลอด
RDS, prolonged neonatal resuscitation, acidosis, pneumothorax, NEC และภาวะชัก
ความรุนแรงของ IVH แบ่งออกเป็น 4ระดับ
grade 1 : มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองปกติ
grade 3: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade4: มีเลือดออกในโพรง สมองร่วมกับเลือดออกในเนื้อสมอง
คือภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
Retinopathy of Prematurity(ROP)
การวินิจฉัย
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4 -6 สัปดาห์ หรือเมื่อทารกอายุครรภ์รวมหลังเกิด 32สัปดาห์
ถ้าไม่พบการดำเนินของโรค ตรวจซ้ำ ทุก4 สัปดาห์
ถ้าพบว่า มีการดำเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์
ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ้ำ ทุก ๆ 1 – 2 สัปดาห์
ความรุนแรง มี 5ระยะ
บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี้ยงและจอประสาทตาที่ขาดเลือด
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ในทารกที่ได้รับออกซิเจน ติดตาม O2 saturation ดูแลให้ทารกมีระดับ O2 saturation อยู่ระหว่าง 88-92 %
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ screening ROP
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี้ให้ได้รับการรักษาโดย ใช้แสงเลเซอร์
มีการงอกผิดปกติของเส้นเลือด (neovascularization)
Bronchopulmonary Dysplasia
เป็นโรคปอดเรื้อรัง
พบในทารกคลอดก่อนกำหนดที่เป็น RDS หรือโรคที่ต้องการ O2 ความเข้มข้นสูงเกิน 60% และใช้เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 ชั่วโมง
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่า ปกติ
หน้าอกบุ๋ม (intercostal retraction)
O2 ในเลือดต่ำ กว่าปกติ
CO2 ในเลือดคั่ง
ความดันในปอดสูง(pulmonary hypertension) ในรายที่รุนแรง
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการและอาการแสดง
ภาพถ่ายรังสีปอด (มี 4 ระยะ)
ระยะที่ 1 : ปอดขยายตัวไม่เต็มที่ มีจุดฝ้าขาวเล็กๆทั่วปอด (ground glass appearance)
ระยะที่ 2 : มีฝ้าขาวทั่วปอด
ระยะที่ 3 : ระยะเรื้อรัง เห็นก้อนในเนื้อปอด จากมี hyperaeration สลับกับ fibrosis
ระยะที่ 4 : ระยะเรื้อรัง มีatelectasis และ hyperaeration กระจายในปอด จะมีความดันในเลือดสูง
การป้องกัน
การคลอดก่อนกำหนด
การให้ o2 ความเข้มข้นสูงเป็นเวลานาน
การใช้ความดันของเครื่องช่วยหายใจสูงเป็นเวลานาน
ให้สารต้านอนุมูลอิสระ
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ เช่น การให้ o2, ให้ยาขยายหลอดลม,รักษาภาวะแทรกซ้อน,ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
Perinatal asphyxia
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านมารดา
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด
ระดับ
No asphyxia คะแนนแอพการ์ 8 –10
Mild asphyxia คะแนนแอพการ์ 5 – 7
Moderate asphyxia คะแนนแอพการ์ 3 – 4
Severe asphyxia คะแนนแอพการ์0-2
ประกอบด้วยภาวะ
เลือดขาดออกซิเจน(hypoxemia)
-คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercapnia)
เลือดเป็นกรด เนื่องจากการระบายอากาศที่ปอด (ventilation)
การกำซาบของปอด (pulmonary perfusion) ไม่เพียงพอ
ผลของการขาดออกซิเจนแรกคลอด
ระบบหายใจ
ศูนย์หายใจถูกกดทำให้หายใจช้า หรือหยุดหายใจ
ระบบประสาทกลาง
มีการเปลี่ยนแปลงระดับการรู้สติ หายใจไม่สม่ำเสมอ หยุดหายใจ รีเฟล็กซ์ลดลงกำลังกล้ามเนื้อลดลงหรืออาจชักได้
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ศูนย์ควบคุมการทำงานของหัวใจถูกกดเป็นผลให้หัวใจเต้นช้าลง
ขาดออกซิเจนมากของหัวใจ ทำให้เกิดภาวะหัวใจวาย
ระบบการขับถ่าย
ไตจะไวต่อภาวะขาดออกซิเจน ทำให้เนื้อไตเกิดเนื้อตายเฉียบพลัน ปัสสาวะลดลง หรือไม่ปัสสาวะใน 48 ชั่วโมงหลังคลอด
ระบบทางเดินอาหาร
เลือดไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารลดลง ทำให้เกิดภาวะลำไส้เน่า
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ บิลิรูบินในเลือดสูง
เป็นภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
การรักษา
การสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
ให้ความอบอุ่นและควบคุมทารกให้อุณหภูมิปกติ
ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
งดอาหารทางปากชั่วคราว ให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือด
ให้เลือด ถ้าความเข้มข้นของเลือดต่ำหรือเสียเลือด
หลังจาก 12 ชั่วโมง ให้ระวังอาการชัก
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
ระมัดระวังภาวะแทรกซอ้นต่างๆ
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
สาเหตุ
การคลอดก่อนกำหนด
การเริ่มรับนมและ เพิ่มปริมาณนมเร็ว
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์
ภาวะขาดออกซิเจน
พยาธิสรีรภาพ
จากปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งจนทำให้ลำไส้เกิดการอักเสบ
ทำลายเยื่อบุผิวลำไส้รวมถึงเชื้อแบคทีเรียลุกลามเข้าไปสู่ผนังลำไส้
ทำให้เนื้อเยื่อในลำไส้ตาย
ทารกมีอาการเจ็บป่วยข้ึนมา เช่น ท้องอืด พบเลือดในอุจจาระ(occult blood)
อาการ
เซื่องซึม (lethargy) ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้องกวน อุณหภูมิกายต่ำ หยุดหายใจ หัวใจเต้นช้า มีภาวะกรดเกิน โซเดียมต่ำและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะ
ท้องอืด
-ถ่ายอุจาระเหลว
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร
อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การวินิจฉัย
-การตรวจเอกซเรย์ช่องท้อง เพื่อสังเกตเงาลมแทรกในผนังลำไส้
-การตรวจเอกซเรย์ด้านข้าง
-การตรวจช่องท้องด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
-การเพาะตัวอย่างเลือด
การรักษา
การระงับ สิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบ ผ่านการพักการใช้ทางเดินอาหาร (NPO)
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้างการระงบัการติดเชื้อตามระบบต่างๆ ของร่างกาย
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ได้แก่ สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ การแข็งตัวของเลือด การ เปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
รักษาโดยการผ่าตัด
1.การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
2.การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemia ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับ สะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
การสร้างกลูโคส (glucogenesis) ได้น้อย
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลงัคลอด เช่น การขาดออกซิเจนอุณหภูมิกายต่ำทำ ให้มีการใช้น้ำตาลมาก
การดูแล
ทารกที่มีอาการ
ระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด(10% D/W)
ทารกที่ไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับ น้ำตาลในเลือด 30นาทีหลังให้นมมื้อแรก
อายุ 4-24 ชั่ว โมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับ น้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
*10% D/W 2 mg /kg.และ/หรือ glucose infusion rate (GIR) 5-8 มก/กก/นาทีโดยให้ระดับ น้ำตาลในเลือด อยู่ในช่วง40-50 มก./ดล.
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับ น้ำตาลในเลือดต่ำ จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรกหรือจนระดับน้ำตาลจะปกติรีบให้ 5,10 %D/W ทางปาก หรือ NG tube ใน 1-2 มื้อแรกแล้วให้นม
อาการ
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวาอาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
Meconium aspiration syndrome
(MAS)
เป็นภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
อายุครรภ์มากกว่า 42 wks ส่งผลให้รกเสื่อมสภาพ
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ผ่านรกมายังทารกน้อยลง
มารดามีภาวะรกเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
มารดามีภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติทารกเคลื่อนไหวไม่สะดวกเกิดสายสะดือถูกกด
มีภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบ น้ำคร่ำรั่วนานกว่า 18 ชม.
ประวัติใช้สารเสพติด ส่งผลให้มีการหดรัดตัวของมดลูก
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีภาวะเครียด ทำให้มีการคลายตัวของหูรูดลำไส้ของทารกและทารกมีการถ่ายขี้เทาปนในน้ำคร่ำมารดา
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงปานกลาง
หายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครงและมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
อาการรุนแรงมาก
ระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
อาการรุนแรงน้อย
หายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง 24-72 ชั่วโมง
การวินิจฉัย
อาการแสดง: หายใจลำบาก ทรวงอกโป่ง(จากการมีลมคั่ง ไม่สามารถระบายออกได้)
ตรวจร่างกาย: น้ำคร่ำมีตะกอนขี้เทา ร่างกายทารกมีขี้เทาติด ฟังเสียงปอดไม่ได้ยินเสียงอากาศผ่าน
ภาพถ่ายรังสี: alveolar infiltration hyperaeration atelectasis
ABG: มีภาวะเลือดเป็นกรด มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง มีภาวะพร่องออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
พิจารณาให้ยาตามอาการของทารกเพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย(กลุ่ม opioids, กลุ่ม muscle relaxants )
พิจารณาใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด กรณีมีภาวะความดันในปอดสูง
ให้ยาปฏิชีวนะในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลวเพื่อลดการอักเสบเนื่อเยื่อปอด
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ (ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดและภาวะความดัน ในปอดสูง)
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ไวต่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิร่างกายที่ hypothalamus, CNS เจริญเติบโตไม่เต็มที่
ผิวหนังบาง ทำให้เส้นเลือดอยู่ชิดกับผิวหนัง
พื้นผิวของร่างกายมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว
มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย , ต่อมเหงื่อยังทำหน้าที่ได้ไม่ดีจนกว่าอายุ 4 wks
ความสามารถในการผลิตความร้อนโดยไม่ควบคุมยังน้อย เช่น การสั่น
การสูญเสียความร้อน
การนำ (conduction) เกิดจากผิวของทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น
การพา (convection) เป็นการพาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อมที่เย็นกว่า
การแผ่รังสี(radiation) การสูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่า แต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
การระเหย (evaporation) การสูญเสียความร้อนเมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้ำ
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia)
อุณหภูมิกายต่ำกว่า 36.5องศาเซลเซียส
อาการ
มือเท้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัวซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลง หรือไม่ดูดนม อาเจียน ท้องอืด น้ำหนักไม่ขึ้นหรือน้ำหนักลด
ภาวะอุณหภูมิร่างกายสูง(Hyperthermia)
อุณหภูมิกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
จะหงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น มีการเคลื่อนไหวลดลงหายใจเร็วและแรง หรือหยุดหายใจ ซึม สัมผัสผิวหนัง อุ่นกว่าปกติ
การควบคุมอุณหภมูขิองร่างกาย
-จัดให้อยู่ในที่อุณภมูิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
-ระวัง “Cold stress”
-ปรับอุณหภูมิห้องให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม (25-26 องศาเซลเซียส)
-ตรวจสอบอุณหภมูิร่างกายทุก4 ชม.และปรับใหเ้หมาะสมกบัสภาพของทารก
-วัดอุณหภูมิ Body temperature ทารก 36.8-37.2องศาเซลเซียส
-keep warm (warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว)
-ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
การควบคุมอุณหภูมิกายทารกที่อยู่ในตู้อบ
ให้อุณหภูมิกายทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ 36.8- 37.2 องศาเซลเซียส
ระบบภูมิคุ้มกัน
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
เม็ดเลือดขาวมีน้อยจึงทำหน้าที่ในการกำจัดเชื้อโรค(phagocytosis) ไม่สมบูรณ์
ผิวหนังเปราะบาง epidermis และ dermis ยึดกันอย่างหลวมๆจึงถูกทำลายได้ง่าย
แบ่งเป็น
Early onset Sepsis
ติดเชื้อในระยะก่อน/ ระหว่างการคลอด แสดงอาการภายใน 2-3 วัน แรกหลังคลอดภายใน 72 ชั่วโมงแรก
Late onset Sepsis
ติดเชื้อที่แสดงอาการ หลังคลอด 72 ชั่วโมงถึง 1 เดือน
สาเหตุ
preterm
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดนานเกิน 18 ชั่วโมง
การคลอดล่าช้า
มารดามีการติดเชื้อ น้ำคร่ำมีกลิ่น
เชื้อ Group B streptococci แกรมลบ E.coli Klebsiella)
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ไข้ ผื่น ต่อมน้ำเหลืองโต สัมผัสผู้ป่วยติดเชื้อ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Culture 24-48 hr.( blood, UA, CSF, Sputum) , CBC , Plt count , ESR ดูการตกของเม็ดเลือดขาวทารกยังไม่เกิน 2 mm/hr , CRP และ CXR
ตรวจร่างกาย
อาการและอาการแสดง
ซึม ร้องนาน ไม่ดูดนม ซีด ตัวลายเป็นจ้ำ (motting) ผิวหนังเย็น หายใจเร็ว หายใจลำบาก ท้องอืด อาเจียน สั่น ชัก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ให้Ampicillin iv กบั Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลเปลี่ยนเป็น กลุ่ม Cephalosporins iv
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
มารดา
อายุมารดาน้อยกว่า 18 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
โรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายตวัมากเกินไป เช่น ครรภ์แฝด ภาวะน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ติดเชื้อในร่างกาย
ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ใช้ยาเสพติดขณะตั้งครรภ์
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย , รูปร่างแขนขามีขนาดเล็ก
ศีรษะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัวกะโหลกศีรษะนุ่ม รอยต่อกะโหลกศีรษะและขม่อมกว้าง
เปลือกตาบวมและนูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
การเจริญของกระดูกหูมีน้อยใบหูอ่อนนิ่มเป็นแผ่นเรียบ งอพับได้ง่าย
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้า ไขมันคลุมตัว (Vernix caseosa) มีน้อยหรือไม่มีเลย
พบขนอ่อน (Lanugo hair) ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน ส่วนผมมีน้อย
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
มีกล้ามเนื้อและไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) น้อย ผิวหนังเหี่ยวย่น
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ (Periodic breathing) เขียว และหยุดหายใจได้ง่าย (Apnea)
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกำหนดและReflex ต่าง ๆ มีน้อยหรือไม่มี
ระบบการไหลเวียนโลหิต
Fetal circulation เป็น Neonatal circulation
ส่งผลให้
Foramen ovale ปิดสมบูรณ์
Ductus arteriosus จะหดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น(ligamentum arteriosum)
Ductus venosus ปิดเมื่อสายสะดือถูกตัดกลายเป็นเอ็นที่ตับ (ligamentum venosum)
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
(Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว
หอบเหนื่อย
รับนมได้น้อย
ท้องอืด(เลือดไหลดันไปปอด ทำให้เลือดไปเล้ียงลา ไส้ลดลง)
น้ำหนักไม่ขึ้น
การรักษา
การรักษาทั่วไป ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
2.การรักษาจำเพาะ
โดยใช้ยายับยั้งการสร้าง prostaglandin Indomethacin ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr. นานกวา่ 8 hr. * มีภาวะ NEC
Ibuprofen
ข้อห้ามใช้ * BUN > 20 mg/dl , Cr > 1.6 mg/dl - การผ่าตัด PDA ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
(Hyperbilirubinemia)
เกิดจากบิลลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
มีการสร้างบิลิรูบินมากเพราะเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าและไม่สมบูรณ์
พบในช่วงวันที่2 - 4 วันหลังคลอด และหายไปเองใน 1 -2 สัปดาห์
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติและเหลืองเร็ว
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติจากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
มีความผิดปกติเยื่อหุ้มเม็ดเลือดแดง
มีความผิดปกติของเอนไซด์ในเม็ดเลือดแดง เช่น G6PD
มีการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดงจากหมู่เลือด
มีเลือดออกในร่างกาย
เม็ดเลือดแดงเกิน (polycythemia )
โรคธาลัสซีเมีย
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหรือไม่มีจุดเลือดออกบริเวณใดหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, Coombs’test, LFT, G6PD
การซักประวัติ
ประวัติมีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
อาการ
ระยะแรก
ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียกเกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
ระยะยาว
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกาย แขนขา การได้ยินและการเคลื่อนไหวลูกตา พัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง