Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การแนะแนวและการให้คำปรึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 10
การแนะแนวและการให้คำปรึกษา
การแนะแนว
หมายถึง การชี้ช่องทางหรือการบอกทางให้ผู้ที่มีปัญหาสามารถตัดสินใจได้
ความสำคัญของการแนะแนวในโรงเรียน
ผู้เรียนประสบปัญหา
การอบรมเลี้ยงดูที่ผิด
ปัญหาด้านจิตใจ
ปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย
ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม
เศรษฐกิจ
อาชีพ
สภาพสังคมและครอบครัว
ระบบการศึกษา
ปรัชญาการแนะแนว
แต่ละคนมีความแตกต่าง
ทุกพฤติกรรมมีสาเหตุ
บุคคลแต่ละคนต้องการความช่วยเหลือ
ทุกคนมีคุณค่าและศักดิ์ศรี
มนุษย์คือทรัพยากรที่มีคุณค่า
บุคคลประสบความสุขและความสำเร็จในชีวิตได้เมื่อได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ในด้านต่าง ๆ
แต่ละคนย่อมมีปัญหา
คนต้องมีความสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
แต่ละคนมีความเป็นอิสระในตนเอง
เป้าหมาย
การส่งเสริมและพัฒนา
การป้องกันปัญหา
การแก้ไขปัญหา
ขอบข่าย
ด้านการศึกษา
ด้านอาชีพ
ด้านส่วนตัวและสังคม
จรรยาบรรณวิชาชีพการแนะแนว
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
เอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ผู้รับบริการ
ยุติการให้บริการที่นอกเหนือความสามารถของตนเองและส่งต่อไปยังบุคคลที่เหมาะสม
รักษาความลับของผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้อง
ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากผู้รับบริการ
การจัดบริการแนะแนว 5 บริการ
บริการศึกษารวบรวมข้อมูลรายบุคคล
เทคนิคและเครื่องมือที่ไม่ใช่แบบทดสอบ
การสังเกต
การสัมภาษณ์
เยี่ยมบ้านผู้เรียน
การศึกษารายกรณี
เทคนิคและเครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบ
แบบทดสอบเชาว์ปัญญา
แบบสำรวจความสนใจ
แบบทดสอบความถนัด
บริการสนเทศ
ข้อสนเทศด้านการศึกษา
ข้อสนเทศด้านอาชีพ
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถวางแผนเลือกและตัดสินใจได้อย่างฉลาดและมีเจตคติที่ดีต่อ
การประกอบอาชีพสุจริตทั้งหลาย
ข้อสนเทศด้านส่วนตัวและสังคม
บริการให้คำปรึกษา (หัวใจของการแนะแนว)
บริการจัดวางตัวบุคคล
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนตามที่วางแผนไว้หรือเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่เหมาะสมกับตนเองตามความถนัด
บริการติดตามและประเมินผล
เอกสารถึงตัวบุคคล
ติดต่อเป็นการส่วนตัวโดยตรง
ติดต่อกับบุคคลที่รู้จักหรือเกี่ยวข้อง
การให้คำปรึกษาผู้เรียน
หมายถึง กระบวนการปฏิสัมพันธ์ที่ครูผู้ให้
คำปรึกษาประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีการให้คำปรึกษา ทักษะการให้คำปรึกษา และกระบวนการ/ขั้นตอนการให้คำปรึกษามาเอื้อให้ผู้เรียนในฐานะผู้รับคำปรึกษาผ่านการสนทนา
ลักษณะ
เน้นในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงความคิด ควาเชื่อ อารมณ์และพฤติกรรมของบุคคล
การสนทนาหรือการสื่อสารเป็นเครื่องมือสำคัญ
เน้นคุณค่าของความเป็นมนุษย์
เน้นสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษา
เน้นปัจจุบัน
ไม่มีคำตอบสำเร็จรูปตายตัว
ให้เกียรติและยอมรับผู้ที่มาขอรับคำปรึกษาอย่างไม่มีเงื่อนไข
ประเภท
การให้คำปรึกษาที่มุ่งเน้นการช่วยเหลือแก้ไขปัญหา
ปัญหาวิกฤติ
ปัญหาที่เกิดขึ้นฉับพลัน
ปัญหาที่ควรตระหนักรู้ว่าเป็นปัญหา
เอื้อให้ผู้เรียนกระจ่างในปัญหาของ
ตน เข้าใจตน และยอมรับตน
การให้คำปรึกษาที่มุ่งเน้นการป้องกันปัญหา
การให้คำปรึกษาที่มุ่งเน้นการส่งเสริมพัฒนา
รูปแบบของการให้คำปรึกษา
ให้คำปรึกษาแบบรายบุคคล
ให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม
จำนวนสมาชิกระหว่าง 6-8 คน
ระยะเวลาของการให้คำปรึกษา
รายบุคคล
วัยประถมศึกษาอายุ 7-12 ปีควรใช้เวลาครั้งละ 20-30 นาที
อายุตั้งแต่12 ปีขึ้นไป ควรใช้เวลาครั้งละ 50 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียน ควรใช้เวลาครั้งละประมาณ 1 คาบเรียน
ควรใช้ระยะเวลาต่อเนื่องอย่างน้อย 1 เดือน แต่ไม่ควรเกิน 1 ป
แบบกลุ่ม
ใช้เวลาครั้งละ 60 นาทีถึง 2 ชั่วโมง
ควรอยู่ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน
ให้คำปรึกษาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 60-90 นาที
สถานที่และรูปแบบการนั่งให้คำปรึกษา
แบบรายบุคคล
ส่วนตัว เงียบ เป็นสัดส่วน
นั่งแบบหันหน้าเข้าหากัน 90 องศา
นั่งแบบหันหน้าเข้าหากันแบบเอียง 45 องศา
เก้าอี้นั่งของผู้ให้
คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษาไม่ควรมีอะไรมากั้นกลาง
เก้าอี้นั่งควรเป็นเก้าอี้ที่หมุนไปมาไม่ได้
เข่าของผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษาควรห่างกันประมาณ 30 – 60 ซม.
แบบกลุ่ม
เป็นสัดส่วนอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมกลุ่มต่าง ๆ
จัดที่นั่งเป็นรูปวงกลม
เก้าอี้นั่งไม่ควรหมุนได้
ปัญหาเชิงจิตวิทยาในการให้คำปรึกษา
ปัญหานอก
พ่อแม่ดุด่า
ปัญหาใน
Externalizing Problems คือ ปัญหาที่ถูกแสดงออกมาให้ปรากฏภายนอกใน
รูปแบบพฤติกรรม
Internalizing Problems คือ ปัญหาที่ถูกเก็บไว้ข้างใน
คุณลักษณะและจรรยาบรรณของผู้ให้คำปรึกษา
บุคลิกภาพทั่วไป
หนักแน่นมั่นคงทางอารมณ์
ใจกว้างยอมรับตนและผู้อื่น
น่าศรัทธา น่าไว้วางใจ และมีเมตตา
รู้ขอบเขตความสามารถของตน
เจตคติในการให้คำปรึกษา
เชื่อในคุณค่าและความสามารถของผู้อื่น
ความรู้ความเข้าใจในการให้คำปรึกษา
เข้าใจธรรมชาติ
ของผู้มารับบริการ
ติดต่อสื่อสารได้ดี
มีทักษะการให้คำปรึกษาพื้นฐาน
ให้คำปรึกษาในขอบเขตจรรยาบรรณวิชาชีพ
ทักษะการให้คำปรึกษาพื้นฐาน
ทักษะการใส่ใจ
ตอบรับสั้น ๆ
หลังจากผู้รับคำปรึกษาพูดจบ หรือพูดซ้ำ
ประสานสายตาที่ไม่จ้องมองมากจนเกินไป
ผงกศีรษะรับคำตามความเหมาะสม
ทักษะการฟัง
ไม่รีบตีความ ตัดสินหรือสรุปเรื่องราวที่ฟังก่อนที่ผู้รับ
คำปรึกษาจะเล่าเรื่องจบ
ไม่โน้มน้าว ขัดแย้ง หรือแนะนำผู้รับคำปรึกษา
จับประเด็นสำคัญของเรื่องราว
ทักษะการเริ่มต้นให้คำปรึกษาและตกลงบริการ
เริ่มต้นด้วยการตกลงเรื่องการให้
คำปรึกษาในแต่ละครั้งเกี่ยวกับระยะเวลาของการให้คำปรึกษา บทบาทของผู้ให้คำปรึกษาและ
ผู้รับคำปรึกษา การรักษาความลับ
ทักษะการถาม
การถามด้วยคำถามปลายเปิด
ประโยคของคำถามมักลงท้ายด้วย
“อะไร” “อย่างไร”
การถามด้วยคำถามปลายปิด
คำถามมักลงท้าย
ประโยคด้วย “ไหม” “เหรอ” “หรือไม่” “หรือยัง” “รึเปล่า”
หลีกเลี่ยงการถามด้วยคำถาม “ทำไม” เพราะมักจะทำให้ผู้รับคำปรึกษารู้สึกว่าตนเองผิด
ทักษะการสังเกต
สังเกตอากัปกิริยาที่สื่อถึงการแสดงอารมณ์ความรู้สึกหรือความคิดที่ไม่ได้พูดออกมา
สังเกตความขัดแย้งในพฤติกรรมที่แสดงออกมา
สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกมาระหว่างผู้รับคำปรึกษาเงียบ
สังเกการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม น้ำเสียง
ทักษะการเงียบ
การเงียบที่เกิดขึ้นจากการใช้ทักษะการเงียบของผู้ให้คำปรึกษา
ให้ผู้รับคำปรึกษาคิดทบทวนเรื่องราวของตัวเองและทำความเข้าใจในสิ่งที่พูดหรือรู้สึก
ให้ผู้รับคำปรึกษาได้พักหลังจากแสดงอารมณ์โกรธ เสียใจ
ให้ผู้รับคำปรึกษาได้อยู่กับอารมณ์ความรู้สึกที่ไม่สบายใจอย่างเต็มที่
การเงียบที่เกิดขึ้นจากผู้รับคำปรึกษา
ต่อต้านผู้ให้คำปรึกษา
ความประหม่าหรือหวาดกลัว
ทักษะการทวนซ้ำ
เพื่อแสดง
ถึงความใส่ใจ
ไม่ควรทวนซ้ำบ่อยๆ เพราะจะทำให้ผู้รับคำปรึกษารับรู้หรือรู้สึกว่า ผู้ให้คำปรึกษา “ย้อนความ” หรือ “กวน”
ทักษะการสะท้อนความรู้สึก
เพื่อช่วยลดความรู้สึกที่มีต่อปัญหาของผู้รับคำปรึกษา
หลีกเลี่ยงที่จะใช้คำว่า “รู้สึก” บ่อย ๆ และไม่ใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวกับความรู้สึกซ้ำ ๆ
ทักษะการให้กำลังใจ
ทักษะการเผชิญหน้า
เพื่อช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้รู้ตัว เข้าใจถึงปัญหา
ทักษะการให้ข้อมูลและคำแนะนำ
ทักษะการชี้ผลที่ตามมา
กระบวนการหรือขั้นตอนการให้คำปรึกษา
ขั้นตอนที่1 สร้างสัมพันธภาพและตกลงการบริการ
เริ่มด้วยทักษะการใส่ใจ ทักษะการสังเกต และ
ทักษะการเริ่มต้นให้คำปรึกษาและตกลงบริการ
ขั้นตอนที่2 สำรวจ ค้นหาปัญหาและความต้องการ
เริ่มต้นด้วยทักษะการฟัง ทักษะการสังเกต
ทักษะการถาม ทักษะการเงียบ ทักษะการทวนความ และทักษะการสะท้อนความรู้สึก
ขั้นตอนที่3 เข้าใจแก้ปัญหา สาเหตุ และความต้องการ
เริ่มต้นด้วยทักษะการสรุปความ ทักษะการ
ทวนซ้ำ ทักษะการสะท้อนความรู้สึก ทักษะการชี้ประเด็น และทักษะการให้กำลังใจ
ขั้นตอนที่4 วางแผนแก้ไขปัญหา
เริ่มต้นด้วยทักษะการสรุปความและเลือกประเด็น ทักษะการชี้ผลที่ตามมา ทักษะการให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะ และทักษะการให้กำลังใจ
ขั้นตอนที่5 ยุติการให้คำปรึกษา
เริ่มต้นด้วยทักษะการสรุปความและทักษะการให้กำลังใจ ขณะเดียวกันผู้ให้คำปรึกษาควรใช้วิธีการให้คำปรึกษาอื่น ๆ ร่วมด้วยซึ่งประกอบด้วย การส่งสัญญาณยุต
การส่งต่อในกรณีที่ผู้รับคำปรึกษาควรเปลี่ยนผู้ให้คำปรึกษาหรือควรได้รับบริการการให้คำปรึกษาในรูปแบบอื่นที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา