Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 แนวทางการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 3
แนวทางการพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษา
บทนำ การประกันคุณภาพการศึกษา
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับ
การประกันคุณภาพการศึกษา
เน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ทำเพื่อเตรียมรับการประเมินครั้งคราว
เกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย ไม่สามารถว่าจ้างหรือขอให้บุคคลอื่นๆ ดำเนินการแทนให้
มุ่งพัฒนาการดำเนินงานตามความรับผิดชอบของตนให้มีคุณภาพดี
ยอมรับและนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษา
ไปใช้ในการพัฒนา
เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติตามภารกิจ
การเปลี่ยนแปลงในระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา
การยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 และประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561
นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์และแนวดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่าง
การประกันคุณภาพภายใน
และการประเมินคุณภาพภายนอก
ระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา
(Internal Quality Assurance : IQA)
พัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน
จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR)
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก
(External Quality Assessment : EQA)
ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
รายงานผลการประเมินภายนอก
หลักเกณฑ์และแนวดำเนินการ
ประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานของสถานศึกษา
การดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา
3.2 ปรับเปลี่ยนบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ
ประเมินคุณภาพการศึกษา
3.3 ปรับปรุงมาตรฐานผู้ประเมิน
3.1 ปรับเปลี่ยนแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษา
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษา
แนวทางการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา
การจัดระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาตาม
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ.2561
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา
การทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
กระบวนการดำเนิน
การประกันคุณภาพ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
ระบบการประกัน
คุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา
การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการทำงาน (Participation)
การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
(Accountability)
การกระจายอำนาจ (Decentralization)