Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริมป้องกันดูแลและฟื้นฟูสุขภาพ…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริมป้องกันดูแลและฟื้นฟูสุขภาพ มารดาในระยะหลังคลอดปกติ
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
กระบวนการสร้าง
Hormone Estrogenและ Hormone Progesterone ลดลง
การดูดนมของทารก
Posterior pituitary gland จะปล่อย Hormone Oxytocin ทำให้เนื้อเยื่อรอบๆalveoliหดตัว และกระตุ้นอัลวิโอไลและท่อเล็กๆ ทำให้มีการส่งน้ำนมไปยังท่อใหญ่ซึ่งมีรูเปิดที่หัวนม
วิธีการให้นมบุตร
จับเด็กให้นั่ง หรืออุ้มพาดบ่า ลูบหลังให้เรอ ป้องกันท้องอืดและสำรอก
7.หลังให้นมทำความสะอาดเต้านม หัวนม และซับให้แห้ง ใส่เสื้อยกทรงไว้
ก่อนเอาหัวนมออกจากปาก ใช้นิ้วกดคางเบาๆ หรือเขี่ยข้างมุมปาก เพื่อให้เด็กอ้าปาก ก่อนถอนหัวนมออกจากปากลูกเพื่อป้องกันหัวนมถลอก
ในแต่ละมื้อให้ลูกดูดทั้งสองข้างโดยเริ่มดูด 5 นาที ต่อไป 10 นาที ต่อไป 15 นาทีในมื้อถัดไปให้ลูกเริ่มดูดจากข้างที่ค้างไว้ก่อนสลับกันไป
4.ให้ลูกดูดบ่อยๆ อย่างน้อย ทุก 2-3 ชั่วโมง
ให้ลูกอมหัวนมลึกๆถึงAreola
นั่งหรือนอนในท่าสบาย
ล้างมือ เช็ดทำความสะอาดเต้านม หัวนม ด้วยน้ำสะอาด
ข้อดีของน้ำนมมารดา
ให้สารอาหารครบถ้วน
ประหยัดค่านม
สะดวก สะอาด และปลอดภัย
มีภูมิต้านทานต่อโรคติดเชื้อ
ด้านจิตใจ เป็นการช่วยสร้าง Bonding Attachment
การปฏิบัติตัวของแม่
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
อาหาร เพิ่ม500 Kcal/ day
นม 3 แก้ว/day
หมวดเนื้อ3 ส่วน
ทอดด้วยน้ำมัน ปรุงด้วยกะทิ (3 ช้อนชา หรือมากกว่า)
ผลไม้ 2 ส่วน
ข้าวสวย 9 ส่วน
เช็ดหัวนมและเต้านมปล่อยให้แห้ง (หลังลูกดูด)
ห้ามให้น้ำนมผสมน้ำ หรือ glucose
ให้ดูดทั้ง 2 ข้าง (แต่ละครั้ง) ครั้งต่อไปเริ่มต้นข้างที่ดูดครั้งสุดท้าย
1-2 วันแรกให้ลูกดูดทุก 2 ชั่วโมง(ใช้เวลา 3-5 นาที) ต่อไปให้นานขึ้นประมาณ10-15 นาทีหรือตามความต้องการของเด็กทุก 3 ชั่วโมง
อาการที่แสดงว่าได้รับน้ำนมแม่เพียงพอ
ได้ยินเสียงกลืนน้ำนมของลูก
เต้านมแม่ตึงก่อนให้นมและนิ่มลงหลังให้นมแม่แล้ว
น้ำหนักลูกขึ้นโดยเฉลี่ย 18 –30 กรัมต่อวัน
ลูกสงบสบาย พักได้ไม่ร้องหิว ระหว่างมื้อนม
ลูกอุจจาระ 4 –8 ครั้งใน 24 ชั่วโมง
ลูกปัสสาวะ 6 ครั้ง ขึ้นไปใน 24 ชั่วโมง
มีน้ำนมไหล
อาการที่ต้องระวัง
เด็กหลับนานระหว่างมื้อนม
ขณะลูกดูดนมไม่ได้ยินเสียง หรือไม่เห็นการกลืน
เด็กหิวตลอด ร้องกวน ไม่พัก กระวนกระวาย
ดูดนมแม่น้อยกว่า 8 ครั้ง/วัน
หลังเกิดวันที่ 4 ถ่ายอุจจาระสีเหลือง น้อยกว่า 3-4 ครั้ง/วัน
หลังเกิดวันที่ 3 อุจจาระยังเป็นขี้เทาอยู่
หลังเกิด 3 วัน ปัสสาวะน้อยกว่า 6 ครั้ง/วัน
น้ำนมแม่ไม่มาหลังคลอดวันที่ 5
เจ็บหัวนมขณะให้ลูกดูดนม
แม่มีนมคัดแข็ง หลังให้นมแม่ เต้านมไม่แฟบลง
น้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15-30 กรัม/วัน
น้ำหนักไม่เพิ่ม หรือ เท่ากับน้ำหนักเมื่อแรกเกิดภายใน 10 วัน
น้ำหนักลด มากกว่า 7 % ของน้ำหนักแรกเกิด ใน 3-4 วันแรก
ปัญหาที่พบบ่อย
น้ำนมมารดามีมาก
สาเหตุ
มีการสร้างน้ำนมในปริมาณมาก
เกินความต้องการของทารก
การพยาบาล
ให้มารดาบีบน้ำนมออกบางส่วนแล้วจึงนำทารกมาดูด
แนะนำให้มารดาให้นมบุตรข้างเดียวในแต่ละมื้อเพื่อลดการกระตุ้นการ สร้างนมให้ลดลง
เต้านมคัดตึง
สาเหตุ
ทารกดูดนมระยะห่างเกินไป
ขาดการกระตุ้นจากการดูดนมของทารก
ถุงน้ำนมขยายใหญ่ขึ้นไปกดท่อน้ำนม
การพยาบาล
แนะนำมารดานำเด็กไปดูดนมเร็วที่สุด
ใช้กระเป๋าน้ำแข็งหรือผ้าเย็นประคบ
Breast support
นวดเต้านม
ให้ยาแก้ปวด
ห้าม Pump น้ำนมออก
น้ำนมมารดามีน้อย
สาเหตุ
ทารกดูดไม่ถูกวิธี
ต่อมน้ำนมมารดามีปริมาณน้อย
มารดาขาดสารอาหาร
ได้รับน้ำไม่เพียงพอ
มารดาไม่ได้บีบน้ำนมที่เหลือค้างอยู่ภายในเต้าทิ้ง
การพยาบาล
ในระยะ30นาทีแรกหลังคลอดควรนำทารกไปดูดนมมารดาเร็วที่สุด
จัดให้มารดาและทารกอยู่ด้วยกัน และดูแลให้มารดาให้นมทารกทุกครั้งที่ทารกต้องการอย่างสม่ำเสมอ
ให้มารดาให้นมบุตรเพียงอย่างเดียว โดยไม่ให้น้ำหรือนมผสมเพิ่ม
ดูแลให้ได้พักผ่อนเต็มที่ขณะที่ทารกหลับ
ดูแลให้รับประทานอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
หัวนมมีความผิดปกติ
หัวนมแตก
สาเหตุ
ทารกดูดไม่ถูกวิธี
การพยาบาล
แนะนำให้มารดานำบุตรดูดนมข้างที่เจ็บน้อยกว่า
บีบน้ำนมออกเล็กน้อยแล้วทาบริเวณหัวนมและรอบๆแล้วปล่อยให้แห้งจะช่วยให้หายเร็วขึ้น
ถ้าหัวนมแตกรุนแรงอาจจำเป็นต้องใช้หัวนมปลอมครอบ
ถ้ามีอาการปวดหัวนมมากให้ยาบรรเทาปวดเพื่อให้มารดาสบายขึ้น
หัวนมสั้น
การพยาบาล
แนะนำให้มารดานำทารกคาบหัวนมให้ลึกจนเหงือกกดบริเวณลานนม
อาจจะใช้ปทุมแก้วครอบหัวนมตลอดเวลาตั้งแต่ตรวจพบ
ก่อนที่จะนำทารกมาดูดนมแนะนำให้มารดาทา Hoffman’smaneuver ประมาณ 3-5 ครั้ง และดึงหัวนมขึ้นตรงๆ และเบา 3-5 ครั้ง
หัวนมบอดหรือบุ๋ม
สาเหตุ
เกิดจากสภาพทางกายวิภาคของหัวนมที่เป็นอยู่เดิม หรือเป็นมาตั้งแต่เกิด
การพยาบาล
ช่วยเหลือมารดาในการเตรียมหัวนมตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
ในกรณีที่ทารกไม่สามารถคาบหัวนมได้ จัดท่าให้ทารกนอนอยู่ข้างลำตัวมารดา โดยใช้มือมารดาประคองเต้านมไว้
หากทารกดูดนมมารดาไม่พอกับความต้องการ แนะนำให้มารดาบีบน้ำนมใส่แก้วและป้อนนมให้ทารกโดยวิธี cup feeding
ประคบเต้านมด้วยนน้ำอุ่นหรือบีบน้ำนมออกบางส่วน
การพยาบาลมารดาหลังคลอดใน 24 ชั่วโมงแรก
การดูแลกระเพาะปัสสาวะ
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่างอยู่เสมอ และให้ถ่ายปัสสาวะ ภายใน 8 ชั่วโมงหลังคลอด
การขับถ่ายอุจจาระ
การให้คำแนะน้า
กระตุ้นให้ลุกขึ้นเดินบ่อย ๆ เป็นการกระตุ้นให้ล้าไส้ท้างานได้ดีขี้นและช่วยกระตุ้นการขับถ่าย
หมั่นขมิบก้นและช่องคลอด
ไม่ควรกลั้นอุจจาระเพราะกลัวเจ็บแผล เพราะการถ่ายอุจจาระจะไม่ทำให้แผลที่เย็บกระทบกระเทือนอยู่แล้ว
ไม่ควรเบ่งแรงเวลาถ่ายเพราะการเบ่งจะส่งทำให้เกิดริดสีดวงทวารหนักได้
ถ้ามีอาการริดสีดวงทวารหนักอยู่แล้ว ให้ประคบด้วยน้ำอุ่นหรือนั่งแช่ในน้ำอุ่นจะช่วย บรรเทาอาการอักเสบของริดสีดวงทวารได้
รับประทานอาหารที่มีกากใยเพิ่มมากขึ้น เพื่อกระตุ้นกระบวนการท้างานของระบบขับถ่าย
การให้ยาระบายอุจจาระ
การสังเกตแผลฝีเย็บและเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ตรวจดูลักษณะของแผลฝีเย็บว่ามีการดึงรั้ง บวม มีก้อนเลือดใต้ผิวหนังหรือไม่ และสังเกตเลือดที่ออกทางช่องคลอดว่ามีมากน้อย แนะนำมารดาไม่นั่งท่าขัดสมาธิ เนื่องจาดการสมานของแผลใช้ระยะชิดของเนื้อเยื่อ ตลอดเวลา
การรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์
ควรกระตุ้นให้ลุกไปทำความสะอาดร่างกาย เต้านม และอวัยวะสืบพันธุ์ รวมทั้งเปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ เมื่อเปียกชุ่ม ควรอาบน้ำอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง เช้า-เย็น และสระผมร่วมด้วยก็ได้
การติดตามการเปลี่ยนแปลงของมดลูก
ติดตามดูการหดรัดตัวของมดลูกต่อจากระยะ 2 ชั่วโมงแรก หลังคลอด เนื่องจากอาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้
การดูแลการรับประทานอาหาร
ดูแลให้มารดาได้รับประทานอาหารเพียงพอและมีประโยชน์ ให้ได้พลังงาน ประมาณ 2,600-2,800แคลอรี่ต่อวัน
การสังเกตสัญญาณชีพ
วัดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น หรือทุก 4 ชั่วโมง
การพักผ่อนและการนอนหลับ
ให้มารดามีการพักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ
การให้คำแนะนำก่อนออกโรงพยาบาล
การมีเพศสัมพันธ์
งดการมีเพศสัมพันธ์(sexualintercourse)4-6สัปดาห์
การวางแผนครอบครัว
Family Planning
-แบบถาวร
ทำหมันแห้ง
ทำหมันเปียก
-แบบชั่วคราว
ไม่ใช้อุปกรณ์ใดๆ ให้เพศชายมีการหลั่งนอกช่องคลอด
ชนิดที่ไม่ใช้ฮอร์โมน ในรูปแบบ ห่วงอนามัย,ถุงยางอนามัย
ชนิดท่ีใช้ฮอร์โมน ในรูปแบบ รับประทาน, ฉีด, ฝัง
การออกกำลังกาย
หลังคลอดภายใน 7 วันใช้ท่าบริการ การหายใจ บริหารช่องอก, กล้ามคอ, หลัง, ไหล่ ส่วนบริเวณฝีเย็บ ช่องท้องและเชิงกราน ให้แนะน้าเมื่อเร่ิมไม่รู้สึก เจ็บบริเวณแผลฝึเย็บ หรือผ่าตัดคลอด
ไม่หักโหม มากเกินจนรู้สึกเหนื่อยมาก ใจสั่น
ไม่ยกของท่ีมีน้ำหนักเกิน 5 กิโลกรัม
อาการผิดปกติท่ีควรมารพ.ก่อนวันนัด
แผลบวม เจ็บตึง มีเลือด/หนองไหลจากแผล
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ออกมากกว่าวันละ 4 ผืนชุ่มผ้าอนามัย
ปวดมดลูกมากกว่าตอนอยู่โรงพยาบาล /ปวดท้องน้อยข้างใดข้างหนึ่ง
ปัสสาวะแสบ ขัด มีกลิ่น/ปัสสาวะขุ่น
เต้านมแดง เจ็บ เป็นตุ่มหนอง
ถ่ายอุจจาระลำบาก
นอนไม่หลับ โดยไม่ทราบสาเหตุ
มีไข้
การมาตรวจตามนัด
การนัดหลังคลอด 6 สัปดาห์เพื่อติดตามมดลูกเข้าอู่ คืนสภาพตามปกติ การตรวจหาช้ินเนื้อของมะเร็งปากมดลูก และเลือกชนิดการวางแผนครอบครัว
การนัดหลังคลอด 7 วันเพื่อติดตามแผลจากการคลอด และอาการอื่นๆ
การเลี้ยงลูกและสังเกตอาการผิดปกติของลกู
สีผิว ใบหน้า แขนขา ลำตัว
การติดเชื้อที่ ตา สะดือ บริเวณที่ฉีดวัคซีน ระบบทางเดินหายใจ ท้องเสีย ผื่นแพ้ตามตัว
การปัสสาวะ จำนวนคร้ังต่อวัน สี
ทารกเพศหญิงบางราย อาจมีตกขาว/เลือดออกเล็กน้อยทางช่องคลอด
การขับถ่ายอุจจาระ จำนวนครั้งต่อวัน ลักษณะ สี
สังเกตทารกร้องบ่อย /นอนมากกว่าตื่น การงอแขนขาเมื่อร้อง/ดิ้น
การทำงานหลังคลอด
ไม่ยกของท่ีมีน้ำหนักเกิน 5 กิโลกรัม
ควรกลับไปทำงานตามปกติหลังคลอด 3 เดือน
งดการทำงานท่ีออกแรงจนรู้สึกเหนื่อย
การพยาบาลหลังคลอดทันที
ตรวจกระเพาะปัสสาวะ
ประเมินแผลฝีเย็บ
สังเกตเลือดที่ออก
วัด T, P, R, BP
ตรวจสภาพมดลูก
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารกหลังคลอด
การปรับตัวของมารดา
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา
ระยะอิสระ
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด(POSTPARTUM BLUE)
สามีและครอบครัวต้องให้กำลังใจ อยู่เป็นเพื่อน
ให้ความมั่นใจกับมารดาหลังคลอดว่าอาการนี้เป็นภาวะปกติ พบได้บ่อยและจะหายไปได้เอง
BONDING&ATTACHMENT
การให้ความอบอุ่น
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม
การรับกลิ่น มารดา
การให้เวลาและความมั่นคง
การเคลื่อนไหวตามเสียงพูด
การใช้เสียงแหลมสูง