Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงของมารดาหลังคลอด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงของมารดาหลังคลอด
มดลูก
น้ำหนัก
1ชั่วโมงหลังคลอด = 1000 g.
7 วันหลังคลอด=500 กรัม
2 สัปดาห์หลังคลอด=300 กรัม
6 สัปดาห์หลังคลอด=ก่อนตั้งครรภ์ 50-60 กรัม
ระดับมดลูก
1ชั่วโมงหลังคลอด = ระดับสะดือ
7 วันหลังคลอด=เหนือหัวเหน่า
2 สัปดาห์หลังคลอด=ระดับหัวเหน่า
ระดับมดลูกไม่ลดลงติดต่อกัน3วัน =Subinvolution of uterus
involution
Ischemia
ขับออกมาทางน้ำคาวปลา
Autolysis
ขับออกทางปัสสาวะ
น้ำคาวปลา
ลักษณะ
Lochia rubra
3 วันแรกหลังคลอด
สีแดง
Lochia serosa
หลังคลอด 3-10 วัน
สีชมพู-สีน้ำตาล
Lochia alba
สัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด
สีฟางข้าว-สีขาว
ปากมดลูก
external os
มีลักษณะนุ่มและบาง
parous cervix
ริ้วรอยที่คงอยู่ตลอดไป
internal os
ปิดเช่นเดิม1-3วันหลังคลอด
เปลี่ยนจากกลมเป็นฉีกขวาง
ช่องคลอด
ขยายกว้างข้ึน
รอยย่น
ลดลงเป็นผิวเรียบ3สัปดาห์หลังคลอด
ฝีเย็บ (Perineum)
จะสมานกันภายใน2-3สัปดาห์
แผลจะหายเป็นปกติใน6สัปดาห์หลังคลอด
ประจำเดือน
เลื่อนประจำเดือนและการตกไข่
Hormoneลดลง10-12 วัน และเพิ่มขึ้นสัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด
Body temperature
อุณหภูมิหลังคลอดสูงขึ้นได้แต่ไม่เกิน38องศาเซลเซียส
สัญญาณชีพ
ความดันโลหิต
สูงขึ้นเพียงเล็กน้อยใน 1-24ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ช่วงเช้าความดันจะต่ำ
ถ้าสูงมากกว่า 140/90 mmHg อาจเป็นPre-eclampsia
ชีพจร
ช้าลงอยู่ระหว่าง 60-70ครั้ง/นาทีใน 1-2วันแรกหลังคลอด
อัตราการหายใจ
16-24ครั้ง/นาที
ในรายที่มีอัตราการหายใจเร็ว อาจจะมีภาวะแทรกซ้อนของหัวใจและปอด
ระบบทางเดินปัสสาวะ
Bladderบวมแดง (อาจมีเลือดออกใน Submucosa)
Bladder ความจุเพิ่มขึ้น หลอดไต กรวยไต ขยาย จะกลับสู่ปกติ ใน 2-3 wks
Bladder โป่ง ถ่ายปัสสาวะ ไม่หมด และพบ Infection ได้บ่อย
Renal Function
หลังคลอดไตทำงานน้อยลงเพราะว่า Hormoneลดลง ทำให้Blood Urea nitrogenเพิ่มขึ้น
หลังคลอด12 ชั่วโมง ถ่ายปัสสาวะมาก
ไตจะทำงานปกติ ภายใน 4-6 wks
ระบบต่อมไร้ท่อ
Placental hormones
Estrogenจะลดลง 19-21วันหลังคลอดจึงกลับคืนสู่ระดับปกติ
HCG จะลดลง
ตรวจไม่พบProgesterone และจะมีการผลิตใหม่อีกครั้งเมื่อมีการตกไข่
ตรวจไม่พบฮอร์โมนHPL,HCS
Pituitary hormones
มารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา= ระดับ prolactinเพิ่มขึ้น
มารดาที่ไม่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา= ระดับ prolactinลดลง
ต่อมไทรอยด์
กลับสู่ภาวะปกติเหมือนตอนไม่ตั้งครรภ์ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด
insulinase
insulinase ต่ำลง
ระบบผิวหนัง
Linea nigra จะเข้มขึ้นและหายไปช่วงหลังคลอดได้
ฝ้าบริเวณใบหน้าจะจางหายไป
รอยแตกของผิวหนังเป็นทางขวาง จะจางแต่ไม่หายไป
ลานนมเข้มขึ้น
รอยแยกตัวของกล้ามเนื้อ Rectusมีลักษณะหย่อน
ร่างกายขับน้ำออกทางผิวหนังจำนวนมาก
ระบบทางเดินอาหาร
การรับประทานอาหาร
ความอยากรับประทานอาหารลดลง
กระหายน้ำมาก
การขับถ่ายอุจจาระ
การได้รับการสวนอุจจาระก่อนคลอด
เจ็บปวดบริเวณแผลฝีเย็บและริดสีดวงทวาร
ริดสีดวงทวารจากการที่ลำไส้ถูกเบียดและเคลื่อนไหวช้าขณะตั้งครรภ์ และ ขณะคลอด
ท้องผูก
การสูญเสียน้ำและการถูกจำกัดอาหารในระหว่างการคลอด
การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
น้ำหนักตัว
น้ำหนักตัวลดลง
หลังคลอดทารก รก เสียเลือด
Breast feeding
อาหาร
การออกกำลังกาย
ระบบเลือด
Hct.เพิ่มขึ้นในวันที่ 3-7หลังคลอด กลับสู่ระดับปกติประมาณ 4-5 สัปดาห์หลังคลอด
เม็ดเลือดขาว ระยะ 10-12 วันหลังคลอด จ านวนเม็ดเลือดขาวอยู่ระหว่าง 20,000-25,000 เซลล์
การแข็งตัวของเลือด ลดลงภายใน 2-3 วันหลังคลอด
เต้านม
หลังคลอดจะขยายเพิ่มมากขึ้น
Lobules เจริญมากเพื่อสร้าง Prolactinที่ Anterior Pituitary, Prolactinจะไป กระตุ้น Breast ให้สร้าง น ้านม
ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
โครงกระดูก หลังคลอด 2-3 วันระดับฮอร์โมนรีแลคชินค่อยลดลง แต่ยังคงเจ็บปวดบริเวณตะโพกและข้อต่อ อาการปวดดังกล่าวจะเป็นชั่วคราวเท่านั้น ไม่ต้องใช้ยารักษา
ส่วนกล้ามเนื้อหน้าท้องจะนุ่มหยุ่นไม่แข็งแรง
ระบบประสาท
หญิงตั้งครรภ์บางรายที่คลอดทางช่องคลอดอาจได้รับยาแก้ปวด หรือยาชาภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอดจะกลับสู่สภาพเดิมเมื่อฤทธิ์ยาถูกเผาผลาญและกำจัดออกจากร่างกาย
ด้านจิตสังคม
Postpartum blue
วิตกกังวล สับสน เกี่ยวกับตนเอง ลูก การแสดงออก นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร
การปรับตัวของมารดา
มารดาจะเริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร เกิดหลังวันที่ 10 ของการคลอด
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา สนในตนเองน้อยลงและสนใจบุตรมากขึ้นมารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ3-10 วัน
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา มุ่งความสนใจไปที่ตนเองและต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง ระยะนี้อาจใช้เวลา1-2 วัน