Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง, Perinatal asphyxia, การรักษา,…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ทารกแรกเกิด หมายถึง ทารกที่อายุในช่วง 28 วันแรกของชีวิต
การจำแนกประเภททารกแรกเกิด
การจำแนกตามน้ำหนักทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย (low birth weight infan:) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม ในกลุ่มนี้อาจแบ่งช่อยเป็น
ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม (very low birth weight)
ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม (extreme low birth weight)
2.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักปกติ (normal birh weight infant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 -4,000 กรัม
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกคลอดก่อนกำหนด (preterm infan1) คือ ทารกที่มีอายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็มหรือต่ำกว่านี้
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (term or mature infant) คือ ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า37 สัปดาห์ ถึง41 สัปดาห์เต็ม
ทารกแรกเกิดเกินกำหนด (post term infant) คือ ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า41 สัปดาห์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกคลอดก่อนกำหนดหมายถึงทารกคลอดเมื่ออายุครรภ์< 37 สัปดาห์
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
มารดา
อายุมารดาน้อยกว่า 18 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
โรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายตัวมากเกินไป เช่น ครรภ์แฝด ภาวะน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ติดเชื้อในร่างกาย
ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ใช้ยาเสพติดขณะตั้งครรภ์
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย
รูปร่าง แขนขามีขนาดเล็ก
ศีรษะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว กะโหลกศีรษะนุ่ม รอยต่อกะโหลกศีรษะและขม่อมกว้าง
เปลือกตาบวมและนูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
การเจริญของกระดูกหูมีน้อย ใบหูอ่อนนิ่มเป็นแผ่นเรียบ งอพับได้ง่าย
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวน มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้าไขมันคลุมตัว (Vernix caseosa) มีน้อยหรือไม่มีเลย
พบขนอ่อน (Lanugo hair ) ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน ส่วนผมมีน้อย
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเบเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) น้อย ผิวหนังเหี่ยวย่น
กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่ โครงยังเจริญไม่ดี กระดูกซี่ โครงค่อนข้างอ่อนนิ่มขณะหายใจอาจถูกกระบังลมดึงรั้งเข้าไปเกิด intercostal retraction
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ (periodic breathing)เขียวและหยุดหายใจได้ง่าย (Apnea)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี ทารกมักจะเหขียดแขนและขาขณะนอนหงายมีการเคลื่อนไหวน้อย การเคลื่อนไหวสองข้างไม่พร้อมกันและมักเป็นแบบกระตุก
เสียงร้องเบาและร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกำาหนด reflex ต่าง ๆ มีน้อยหรือไม่มี
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป้องเพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก ในเพศชายถูกอัณฑะยังไม่ลงในถุงอัณฑะ รอยย่นบริเวณถุง (rugae)มีน้อย ในเพศหญิงเห็นแคมเล็กชัดเจน
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ทารกแรกเกิดจะไวต่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิร่างกายที่ hypothalamus, CNS เจริญเติบโตไม่เต็มที่
ผิวหนังบาง ทำให้เส้นเลือดอยู่ชิดกับผิวหนัง
พื้นผิวของร่างกายมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว
มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ต่อมเหงื่อยังทำหน้าที่ได้ไม่ดี จนกว่าอายุ 4 wks
ความสามารถในการผลิตความร้อนโดยไม่ควบคุมยังน้อย เช่น การสั่น
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
การนำ (conduction) เกิดจากผิวของทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น
การพา (convection) เป็นการพาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อมที่เย็นกว่า
การแผ่รังสี (radiation) การสูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่าแต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
การระเหย (evaporation) การสูญเสียความร้อนเมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้ำ
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ(Hypothermia)
หมายถึง อุณหภูมิกายต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเซียสแต่ทารกแรกเกิดอาจมีอาการผิดปกติตั้งแต่อุณหภูมิกายต่ำกว่า 36.8 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรก คือ มือเท้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัว ซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลง หรือไม่ดูคนม อาเจียน ท้องอืด น้ำหนักไม่ขึ้นหรือน้ำหนักลด เป็นต้น
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณหภูมิ Body temperature ทารก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
keep warm (warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว)
ระวัง "Cold stress"
ปรับอุณหภูมิห้องให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม (25-26 องศาเซลเซียส)
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
ภาวะอุณหภูมิกายสูง(Hyperthermia)
หมายถึง อุณหภูมิกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียสอาจเกิดจากการติดเชื้อ การอยู่ในอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมที่ร้อนเกินไป
อาการเริ่มแรก คือ จะหงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น มีการเคลื่อนไหวลคลงหายใจเร็วและแรง หรือหยุดหายใจ ซึม สัมผัสผิวหนังพบว่าอุ่นกว่าปกติ
การดูแล
การควบคุมอุณหภูมิกายทารกที่อยู่ในตู้อบ
เป้าหมายให้อุณหภูมิกายทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติคือ 36.8- 37.2 องศาเซลเซียส
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ หรือ ปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ(Air Scrvocontrol mode)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36 องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.2 องศาเซลเซียส (max 38.0 องศาเซลเซียส )
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 - 30 นาที
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้ 36.8 -37.2 องศาเซลเซียส 2 ครั้งติดกัน ให้ปรับอุณหภูมิตู้อบ
ตาม Neutral thermal environment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15 -30 นาทีอีก2 ครั้งและต่อไปทุก 4 ชม.
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ (Skin Servocontrol mode)
ติด skin probe บริเวณหน้าท้อง โดยหลีกเลี่ยงบริเวณตับและ bony prominence
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36.5 องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.1 องศาเซลเซียส (max 38.0 องศาเซลเซียส )
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 - 30 นาที (max 38.0 องศาเซลเซียส )
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้ 36.8 -37.2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ครั้งติดกัน ให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral thermal cnvironment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15 -30 นาที อีก 2 ครั้งและต่อไปทุก 4 ชม.
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
(Hyperbilirubinemia)
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การส่องไฟ (phototherapy)
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ( CBC, Coombs'test, LFT, G6PD)
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหรือไม่มีจุดเลือดออกบริเวณใดหรือไม่
การซักประวัติ
ประวัติการคลอดของทารก คะแนน Apgar การได้รับบาคเจ็บในระยะคลอด
มารดามีโรคประจำตัวการได้รับยาการติดเชื้อในระหว่างตั้งครรภ์หรือไม่
ประวัติมีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็คเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
อาการ
อาการระยะยาว: มีการเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขา มีความผิดปกติของการได้ยินและการเคลื่อนไหวลูกตา พัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง
อาการระยะแรก: ซึม ดูดนมน้อขลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
สาเหตุ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำ ไ ส้มากขึ้นจากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (breastfeeding jaundice) เกิดจากได้รับน้ำนมช้า ไม่เพียงพอ การกำจัดขี้เทาช้า ทำให้มีการดูดซึมกลับของบิลิรูบิน พบในทารกอายุ 4-7 วัน
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง ได้แก่ การติดเชื้อ
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอน ไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น จากภาวะต่างๆ เช่น ภาวะลำไส้อุคดับ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง ได้แก่
โรคธาลัสซีเมีย
เม็ดเลือดแดงเกิน (polycytherhia ) จากการที่ทารกในครรภ์ขาคออกซิเจนเรื้อรัง
มีเลือดออกในร่างกาย เช่น cephalhematoma ecchymosis hemangioma หรือมีเลือดออกในลำไส้
มีความผิดปกติของเอนไซค์ในเมื่ดเลือดแดง เช่น G6PD deficiency
มีความผิดปกติเยื่อหุ้มเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ เช่น congenital spherocytosis
มีการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดงจากหมู่เลือดของแม่ลูกไม่เข้ากัน ที่พบบ่อย คือ ABO incompatability เช่น แม่มีเลือดกลุ่ม O ลูกมีเลือดกลุ่ม A หรือ B
เกิดจากบิริรูบิน (bilirubin)ในเลือดสูงกว่าปกติ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิกาวะ ( Pathological jaundice) เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติและเหลืองเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเกิดได้จากหลายสาเหตุ
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice) เกิดจากมีการสร้างบิลิรูบินมากเพราะเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าและความ ไม่สมบูรณ์ในการทำงานของตับจึงทำให้กระบวนการในการขับบิริลูบินออกทำได้ช้าพบในช่วงวันที่ 2 - 4 วันหลังคลอด และหายไปเองใน 1 - 2 สัปตาห์
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
(Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักไม่ขึ้น
ท้องอืด(เลือดไหลลัดไปปอด ทำให้เลือดไปเลี้ยงลำไส้ลดลง)
รับนมได้น้อย
หอบเหนื่อย
หายใจเร็ว
การหายใจของทารกแรกเกิดเปลี่ยนจาก รกเป็นปอด Fetal circulation เป็น Neonatal circulation ส่งผลให้
Ductus venosus ปิดเมื่อสายสะดือถูกตัดกลายเป็นเอ็นที่ดับ (ligamentum venosum)
Ductus arteriosus จะหดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น(ligamentum arteriosum)
Foramen ovale ปิดสมบูรณ์
ระบบทางเดินหายใจ
RDS (Respiratory Distress Syndrome)
คือภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
พบได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนดที่ GA <34-36 wks
น้ำหนักตัว < 1,500 gm.
อายุครรภ์ต่ำกว่า 28 wks น้ำหนัก <1,000 gm. มีโอกาสเกิดได้ใน 60-80%
ปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีภาวะ hypothermia, Perinatal asphyxia
มารตาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
สาเหตุ
เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
ซึ่งสาร surfactant ทำหน้าที่ให้ถุงลมคงรูปไม่แฟบขณะหายใจออก สร้างจาก aveolar call type'II ที่ผนังถุงลมเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 20-24wksและสร้างมากขึ้นจนเพียงพอหลัง 35 wks
การป้องกัน
มารดาที่มีความเสี่ยงจะคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก โดยเฉพาะอายุครรภ์ 24- 34 สัปดาห์ ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อน คลอด เพื่อกระตุ้นให้มีการสร้งสารลดแรงตึงผิวและปอดมีความสมบูรณ์มากขึ้น ที่นิยมใช้ ในปัจจุบันมี 2 ชนิดคือ
Betamethazone 12 mg ทางกล้ามเนื้อทุก 24 ชั่วโมงจนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 mg ทางกล้ามเนื้อทุก 12 ชั่วโมงจนครบ 4 ครั้ง
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรทิเกิด ซึ่งจะทำให้เลือดเป็นกรดขัดขวางการทำงานของการสร้างสารลดแรงตึงผิว
อาการและอาการแสดงอาการ
เกิดภายใน 4-6 ชั่โมงหลังคลอด รุนแรงมากขึ้นภายใน24-36 ชั่วโมง
ระบบไหลเวียน โลหิตและระบบทางเดินหายใจ:
หายใจ หน้าอกและหน้าท้องไม่สัมพันธ์กัน
เสียงหายใจผิดปกติมีการกลั้นหายใจขณะหายใจอก (expiratory grunting)
ซีด
BP ต่ำ
2.ระบบทรวงอก: หน้าอกปุ่ม (retraction) บริเวณ Intercostal, Subcostal และ Substernal retraction จากการหดตัวอย่างแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ
3.ระบบทางเดินอาหาร: ดูดนมไม่ดี อาเขียน ท้องอืด
ระบบประสาท: ซึม กระสับกระส่าย reflex ลดลง กระหม่อมโปร่งตึง
ระบบผิวหนัง: ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
เมตาบอลิซึม: Hypoglycemia ภาวะ acidosis
การรักษา
การให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก เช่น การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้น และอัตราไหลของออกซิเจน ภาวะแทรกซ้อนจากการ ได้รับออกซิเจน เช่น ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง (BPD) ภาวะจอประสาทตาพิการจากการเกิดก่อนกำหนด (ROP)
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
Perinatal asphyxia
เป็นภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
เลือดขาดออกซิเจน(hypoxemia)
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercapnia)
เลือดเป็นกรด เนื่องจากการระบายอากาศที่ปอด (ventilation) และการกำซาบของปอด (pulmonary perfusion) ไม่เพียงพอ
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด ได้แก่ ศีรษะทารกไม่ใด้สัดส่วนกับเชิงกรานมารดาคลอดติดไหล่ ความผิดปกติของสายสะคือ ครรภ์แฝด ทารกท่าผิดปกติ การคลอดโดยใช้หัตถการการคลอดที่ทำยากลำบาก
ปัจจัยทางค้านมารดา ได้แก่ ตกเลือด อายุมาก เบาหวาน รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะพิษแห่งครรภ์ ความดันเลือดต่ำ ครรภ์เกินกำหนด ซีดมาก ได้รับยาแก้ปวด
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก ได้แก่ ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้ในครรภ์ภาวะติดเชื้อในครรภ์ ความพิการโดยกำเนิด
ผลของการขาดออกซิเจนแรกคลอด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ศูนย์ควบคุมการทำงานของหัวใจถูกกดเป็นผลให้หัวใจเต้นช้าลง
การขาดออกซิเจนและการลดลงของไกลโคเจนของหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจ ทำงานมีประสิทธิภาพลดลง หัวใจพองขยาย ความดัน โลหิตต่ำเกิดภาวะชื่อกจากหัวใจ
การขาดออกซิเจนมากของหัวใจ ทำให้เกิดภาวะหัวใจวาย
การมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเชื่อหัวใจลดลง ทำให้ลิ้นหัวใจ หลอดเลือดหัวใจถูกทำลายเกิด
-ลิ้นหัวใจปีดไม่สนิท
ระบบหายใจ
ศูนย์หายใจถูกกคทำให้หายใจช้ หรือหยุดหายใจ
-เนื้อเยื่อปอดขาดออกซิเจนมาก ๆ ทำให้เซลล์ถุงลมไม่สามารถสร้างสารลดแรงตึงผิวได้ เกิดกลุ่มอาการหายใจลำบาก
การรั่วของซีรั่มจากหลอดเลือดปอด จากเยื่อบุหลอดเลือดเสียหน้าที่ ทำให้เกิดภาวะปอดดั่งน้ำ
ระบบประสาทกลาง
ทารกจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับการรู้สติ หายใจไม่สม่ำเสมอ หยุดหายใจ รีเฟล็กซ์ลดลงกำลังกล้ามเนื้อลดลงหรืออาจชักได้
เลือดออกในสมองจากหลอดเลือดของสมองเสียความคงทน แตกได้ง่าย
ภาวะชักจากคอร์เท็กซ์ของสมองถูกทำลาย
ภาวะสมองบวมจากการดั่งของสารน้ำทั้งภายในและภายนอกเซลล์ของสมอง
4.ระบบการขับถ่าย
ไตจะไวต่อภาวะขาดออกซิเจน การขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยงทำให้หลอดฝอยของไต หรือ เนื้อไตเกิดเนื้อตายเฉียบพลัน ปัสสาวะลดลง หรือไม่ปัสสาวะใน 48 ชั่วโมงหลังคลอดหรือปัสสาวะเป็นเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
-เลือดไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารลดลง ทำให้เกิดภาวะลำไส้เน่า
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ บิลิรูบินในเลือดสูง
การรักษา
การสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
ให้ความอบอุ่นและควบคุมทารกให้อุณหภูมิปกติ
ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
งดอาหารทางปากชั่วคราว ให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือด
ให้เลือด ถ้าความเข้มข้นของเลือดต่ำหรือเสียเลือด
หลังจาก 12 ชั่วโมง ให้ระวังอาการชัก
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
Apnea of prematurity
(AOP)
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที ร่วมกับมี Cyanosis
central apnea ภวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลมและไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูกโดยมีสาเหตุมาจากศูนย์การหายใจที่บริเวณก้านสมองทำงานได้ไม่ดี
obstruction apnea ภวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือ กะบังลม แต่ไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูก เกิดจากการงอหรือการเหขียดลำคอเกิน ทำให้ช่องภายในหลอดคอ ไม่เปิดกว้าง เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
สาเหต
prematurity
infection
metabolic disorder
Impaired oxygenation
CNS problem
drug
Gastroesophageal reflux
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
คือภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เป็นปัญหาสำคัญที่พบในทารกคลอดก่อนกำหนด
พบอุบัติการณ์ประมาณร้อยละ 25
โดยอุบัติการณ์และความรุนแรงจะแปรผกผันกับอายุครรภ์และน้ำหนักเรกเกิด
ปัจจัยเสี่ยง
ช่วงก่อนคลอด: การคลอดทางช่องคลอด ภาวะทารกขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์ ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
ช่วงหลังคลอด: RDS, prolonged neonatal resuscitation,acidosis, pneumothorax, NEC และภาวะชัก
อาการ
มักเกิดในทารกัดลอดก่อนกำหนดที่มี RDS รุนแรงและต้องใช้ เครื่องช่วยหายใจ ร้อยละ 90 จะมีเลือดออกภายใน 72 ชั่วโมงหลังเกิด และ ร้อยละ 50 เกิดตั้งแต่วันแรก ในรายที่มีเลือดออกปริมาณมากและเร็ว ทารกจะมีอาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว หมดสติชัก เกร็ง หยุดหายใจ ซีด และกระหม่อมหน้าโป้งตึง แต่ถ้าเลือดออกไม่มาก ทารกอาจไม่มีอาการหรือเพียงแต่ซีดลงเท่านั้น บางรายอาจมีอาการซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นพักๆ
การวินิจฉัย
grade 1 : มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองปกติ
grade 3: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade4: มีเลือดออกใน โพรง สมองร่วมกับเลือดออกในเนื้อสมอง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
เป็นความผิดปกติ ในทารกในทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักน้อยมีลักษณะสำคัญ คือ การงอกผิดปกติของเส้นเลือด (neovascularization) บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี้ยงและจอประสาทตาที่ขาดเลือด(หลอดเลือดจอประสาทดาเริ่มสร้างเมื่ออายุครรกั 16 สัปดาห์ โคยเริ่มดันที่ขั้วประสาทตา (optic dise) ไปขังบริเวณขอบด้านนอก หลอดเลือดจะเจริญจบถึงค้าน nasalเมื่ออายุครรภ์ 36 สัปดาห์ และถึงค้าน temporal เมื่ออายุครรภ์ 40 สัปดาห์)
การวินิจฉัย
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4 - 6 สัปคาห์ หรือ เมื่อทารกอายุครรภ์รวมหลังเกิด 32สัปดาห์
ถ้าไม่พบการดำเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4 สัปดาห์
ถ้ำพบว่ามีารดำเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์
ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ้ำทุก ๆ 1 - 2 สัปดาห์
ความรุนแรง มี 5 ระยะ
stage1 : Demarcation line between vascularized and avascular retina
Stage 2: Ridge between vascularized and avascular retina
Stage 3: Ridge with extraretinal fibrovascular proliferation
Stage 4: Subtotal retinal detachment: (a) extrafoveal detachment (b) foveal detachment
Stage 5: Total retinal detachment
Bronchopulmonary Dysplasia
เป็นโรคปอดเรื้อรังมีการทำลายของทางเดินหายใจขนาดเล็ก พบในทารกคลอดก่อนกำหนดที่เป็น RDS หรือโรคที่ต้องการ O2 ความเข้มข้นสูงเกิน 60% และใช้เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 ชั่วโมง
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม (intercostal retraction)
O2ในเลือดต่ำกว่าปกติ
CO2ในเลือดดั่ง
ความดันในปอดสูง(pulmonary hypertension) ในรายที่รุนแรง
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการและอาการแสดง
ภาพถ่ายรังสีปอด (มี 4 ระยะ)
ระยะที่ 1 : ปอดขยายตัวไม่เต็มที่ มีจุดฝ้าขาวเล็กๆทั่วปอด (ground glass appearance)
ระยะที่ 2 : มีฝ้าขาวทั่วปอด
ระชะที่ 3 : เข้าสู่ระยะเรื้อรัง เห็นก้อนใบเนื้อปอด จากมี hyperaeration สลับกับ fibrosis
ระยะที่ 4 : ระชะเรื้อรัง มีatelectasis และ hyperaeration กระจายในปอด จะมีความดันในเลือดสูง
การป้องกัน
การคลอดก่อนกำหนด
การให้ 02 ความเข้มข้นสูงเป็นเวลานาน
การใช้ความดันของเครื่องช่วยหายใจสูงเป็นเวลานาน
ให้สารด้านอนุมูลอิสระ
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ เช่น การให้ 02, ให้ยาขยายหลอดลม,รักษาภาวะแทรกซ้อน, ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
Sepsis
Early onset Sepsis คือ ติดเชื้อในระยะก่อน/ ระหว่างการคลอด แสดงอาการ ภายใน 2-3 วัน แรกหลังคลอดภายใน 72 ชั่วโมงแรก
Late onset Sepsis คือ ติดเชื้อที่แสดงอาการ หลังคลอด 72 ชั่วโมงถึง 1 เดือน
สาเหตุ
-preterm
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดนานเกิน 18 ชั่วโมง
การคลอดล่าช้า
มารดามีการติดเชื้อ น้ำคร่ำมีกลิ่น
เชื้อ Group B streptococci แกรมลu E.coli Klebsiella)
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ ไข้ ผื่น ต่อม น้ำเหลืองโตสัมผัสผู้ป่วยติดเชื้อ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Culture 24-48 hr.( blood, UA, CSF, Sputum)
CBC , Plt count
ESR ดูการตกของเม็ดเลือดขาว ทารกยังไม่เกิน 2 mm /hr
CRP
CXR
อาการและอาการแสดง
ซึม ร้องนาน ไม่ดูดนม ซีดตัวลายเป็นจ้ำ (motting ผิวหนังเย็น หายใจเร็ว หายใจลำบาก ท้องอืด อาเจียนสั่น ชัก
การรักษา
ให้ขาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม Sensitivity
ส่วนมากให้ Ampicillin iv กับ Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็น กลุ่ม Cephalosporins iv
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
คือภาวะลำไส้เน่าอักเสบ เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดิบอาหารตายจากการอักเสบจบขาดเลือด มักเกิดบริเวณลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ในทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อย
สาเหต
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด การเริ่มรับนมและเพิ่มปริมาณนมเร็ว ภาวะขาดออกซิเจน
ปัจจัยเสี่ยง
มารคาใช้สารเสพติคระหว่างตั้งครรภ์
ทารกติดเชื้อแบคที่เรียในกระแสเลือด
การเติบโตช้าในครรภ์
การคลอดก่อนกำหนดหรือมีปัญหาระหว่างทำคลอด เช่น รกลอกตัว ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเ
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน(hypoxia)
ทารกเกิดภาวะเลือดขัน (polycythemia)
น้ำหนักตัวทารกน้อยกว่า 2,000 กรัม
ความพิการของหัวใจแต่กำเนิด ซึ่งส่งผลให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงลำไส้ได้ไม่เพียงพอ
การให้นมผสมที่เข้มข้นสูงผ่านทางเดินอาหาร
การใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ
อาการ
เชื่องซึม (lethargy) ดูคนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้องกวน อุณหภูมิกายต่ำ หยุดหายใจ หัวใจเด้นช้ มีภาวะกรดเกิน โซเคียมต่ำและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะ ได้แก่ ท้องคืด ถ่ายอุขระเหลว อาเจียนเป็นสีน้ำดี มีเลือดออกในทางเดินอาหาร มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร อาจมีเขื่อบุช่องท้องอักเสบ
การวินิจฉัย
-การตรวจเอกซเรย์ช่องท้อง เพื่อสังเกตเงาลมแทรกในผนังลำไส้
-การตรวจเอกซเรย์ด้านข้าง
-การตรวจช่องท้องด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
-การเพาะตัวอย่างเลือด
การรักษา
การระงับสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบ ผ่านการพักการใช้ทางเดินอาหาร (NPO
ขาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมก็ว้าง กรระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆ ของร่างกาย
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือด
-ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ได้แก่ สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ การเข็งตัวของเลือด การ เปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
วิธีรักษาภาวะลำไส้เน่าอักเสบโดยการผ่าตัดแบ่งออกได้ 2 วิธี ได้แก่
1.การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
2.การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Gastroesophageal reflux (GER)
Hypoglycemia
หมายถึง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 mg% (term) ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 35 mg% (preterm)
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูคนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารคาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
การสร้างกลูโคส (glucogenesis) ได้น้อย
มีภาวะเศรียดทั้งขณะอยู่ในกรรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด เช่น การขาดออกซิเจนอุณหภูมิ กายต่ำทำให้มีการใช้น้ำตาลมาก
การดูแล
ทารกที่มีอาการร่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./คล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด(10% D/W)
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมื้อแรก
ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/คล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
ถ้ระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/คล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
ระดับน้ำตาล 25-40 มก/คล. ให้นมหรือสารละลายกลูโกสทางหลอดเลือด*
Meconium aspiration syndrome
(MAS)
เป็นภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลม หรือปอดส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจลำบากพบบ่อยในทารกเกิดครบกำหนดและทารกเกิดเกินกำหนดที่มีภาวะขาคออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อแรกเกิดเรียกว่า Vigo rous ได้จากการประเมินทารกโดย ทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลทารกแรกเกิดเมื้อ 10 ถึง 15 วินาทีหลังเกิด โดยทารกต้องมีอาการดั่งต่อไปนี้คือ
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
หากทารกแรกเกิดมีความผิดปติอย่างใดอย่างหนึ่งในข้อที่กล่าวมา ทารกจะได้รับการประเมินว่าไม่ตื่นตัวเรียกว่า non vigorous
ทารกที่ไม่ตื่นตัวเมื่อแรกเกิดเสี่ยงต่อการสูดสำลักขี้เทา และมักต้องการการกู้ชีพ โดยเฉพาะการช่วยหายใจคุ้วยแรงดันuวก(positive pressure ventilatibn; PPV) เพื่อให้มีการหายใจที่เพียงพอต่อการนำออกซิเจน และเลือดไปยังอวัยวะที่สำคัญ คือ หัวใจ สมอง และต่อมหมวกไต
สาเหต
ปัจจัยด้านมารดา
อายุครรภ์มากกว่า 42 Wks ส่งผลให้รกเสื่อมสภาพ
2 . ความดัน โลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ผ่านรกมาขังทารกน้อยลง
มารดามีภาวะรกเกาะต่ำหรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
มารดามีภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ ทารกเคลื่อนไหวไม่สะดวก เกิดสายสะคือถูกกด
มีภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบ น้ำคร่ำรั่วนานกว่า 18 ชม.
ประวัดีใช้สารเสพตีด ส่งผลให้มีการหดรัดตัวของมดถูก
ปัจจัยด้านทารก
เมื่อทารกในครรภ์มีภาระขาดออกซิเจน ร่างกายของทารกจะมีการปรับตัว เพื่อหาแหล่งของออกซิเจนมาใช้ แต่เมื่อรับออกซิเจนจากสายสะคือไม่ได้ ทารกจะเกิดภาวะเศรียด
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง 24-72 ชั่วโมง ทำให้แรงดันลดลง และมีค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ อาการมักหายไปใน 24-72 ชั่วโมง
อาการรุนแรงป่านกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครงและมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
อาการรุ่นแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจลื้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การวินิจฉัย
อาการแสดง: หายใจลำบาก ทรวงอกโป้ง(จากการมีลมดั่ง ไม่สามารถระบายออกได้)
ตรวจร่างกาย: น้ำคร่ำมีตะกอนขี้เทา ร่างกายทารกมีขี้เทาติด ฟังเสียงปอดไม่ได้ยินเสียงอากาศผ่าน
ภาพถ่ายรังสี: alveolar infiltration hyperaeration atelectasis
ABG: มีภาวะเลือดเป็นกรด มีคาร์บอนไดออกไซด์ดั่ง มีภาวะพร่องออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2 . พิจารณาให้ยาตามอาการของทรก เพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย(กลุ่ม opioids, กลุ่ม muscle relaxants )
พิจารณาใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด กรณีมีภาวะความดันในปอดสูง
ให้ขาปฏิชีวนะ ในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลว เพื่อลดการอักเสบเนื้อเยื่อปอ
ฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ (ภาวะลมรั่วในช่องเชื่อหุ้มปอดและภาวะความดันในปอดสูง)
พัฒนาการพฤติกรรมทางระบบประสาท
เพื่อให้ทารกมีพฤติกรรมทางระบบประสาทที่เหมาะสม เนื่องจาก
ช่วงเวลาที่อยู่ในครรก็มารดาซึ่งมีความเหมาะสมต่อพัฒบาการด้าบต่าง ๆ มีน้อย
ความเจ็บป้วยของทารกทำให้ได้รับการรักษาที่ส่งผลต่อพัฒนาการ เช่น อยู่ในตู้อบ เปิดเผยร่างกาย จับต้องมากเกินจำเป็น เจ็บปวดจากการตรวจรักษา
สิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วยไม่เหมาะสม เช่น แสง เสียง ที่มากเกินไป
การดูแล
การจับต้องทารกเท่าที่จำเป็น จัดกิจกรรมการพยาบาลต่างๆ ให้อยู่ในเวลาเดียวกับ (cluster nursing care) ควรสัมผัสทารกก่อนการจับต้องเพื่อให้การรักษาพยาบาล การเคลื่อนข้ายทารก ควรจัดให้อยู่ในท่าแขน ขา งอ และอยู่ในแนวกลางลำตัว (tucking)
การจัดท่า
ใช้ผ้าอ้อมหรือผ้าห่มผืนเล็กม้วนวางรอบๆ กายของทารกเสมือนอยู่ในครรภ์มารดา (nesting)
ห่อตัวทารกให้แขบงอ มือสองข้างอยู่ใกล้ๆ ปาก (hand to mouth ) หลีกเลี่ยงการห่อตัวแบบเก็บแขน (mum my restraint) เพื่อให้ทารกสามารถปลอบโยนตนเองได้
หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขา (extension ) พยายามให้ทารกอยู่ในท่าแขน ขางอเข้าหากลางลำตัว (flexion) ไม่ว่าในขณะอุ้ม เคลื่อนย้ายและนอน ลำคอตรงไม่กัมหรือเงขมากเกินไป
จัดสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยให้มีการกระตุ้นทางแสงและเสียงน้อยที่สุด
ส่งเสริมการดูดของทารก ไดยใช้หัวนมหลอก (Non-nutritive sucking) ในกรุณีที่สภาพทารกไม่เหมาะที่จะดูคนม ส่งเสริมให้ดูดเอง ถ้าทารกมีอาการเหมาะสม ก่อนให้การพยาบาลควรประเมินพฤติกรรม หรือสื่อสัญญาณ Cues) ของทารกที่แสดงออกทุกครั้ง
ส่งเสริมพัฒนาการด้านประสาทสัมผัสของทารกในขณะให้การรักยา พยาบาล เช่น พูดคุยด้วยเสียงเบา นุ่มนวล
การส่งเสริมสัมพันธภาพ
เป็นบทบาทที่สำคัญของพยาบาล
ขณะมารคาอยู่ในโรงพยาบาล ส่งเสริม กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกหลังคลอดให้เร็วที่สุด (ถ้มารดาไม่มีข้อจำกัด)
เมื่อบิดามารดาเข้าเยี่ยมทารก ให้ช้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย การรักษา พยาบาลที่ทารกได้รับในขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลที่จะทำได้
สอนให้มารดาทราบ ถึงพฤติกรรมหรือสื่อสัญญาณของทารก กระตุ้นให้บิดามารดาอุ้มกอด หรือสัมผัสทารก ไม่บังคับหรือตำหนิถ้ามารดายังไม่พร้อมที่จะทำ
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วขนมมารด1 น้ำนมของมารดาที่คลอดก่อนกำหนดเหมาะสมกับทารกที่เกิดก่อนกำหนดเพราะมี โปรตีนสูงกว่า การให้นมมารดาควรให้นมที่บีญออกมาภายหลัง(Hind milk) เพราะมีไขมันซึ่งให้พลังงานสูงกว่านมที่บีบออกมาช่วงแรก (Fore milk)
Perinatal asphyxia
No asphyxia คะแนนแอพการ์ 8 -10
Mild asphyxia คะแนนแอพการ์ 5-7
Moderate asphyxia คะแนนแอพการ์ 3 - 4
Severe asphyxia คะแนนแอพการ์ 0-2
การรักษา
การรักษาจำเพาะ
โดยใช้ยา เพื่อช่วยยับยั้งการสร้าง prostaglandin
Indomethacin ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/al , Cr > 1.8 mg/al Plt. < 60,000 /mm3 urine < 0.5 cc/Kg/hr. นานกว่า 8 hr.
มีภาวะ NEC
Ibuprofen ข้อห้ามใช้ * BUN > 20 mg/dl , Cr > 1.6 mg/dl
การผ่าตัด PDA ligation
1 . การรักษาทั่วไป ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
นางสาวนิรามัย สีลาคำ เลขที่ 39 (62111301041)