Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ ต่อระบบทางเดินปัสสาวะ, นางสาวภัคนันท์ ภารมาตย์ รหัสนิสิต…
ยาที่ออกฤทธิ์ ต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
กลุ่ม Loop diuretics
Furosemide, Bumetanide
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดกลับของ NaCl ที่ท่อไต
บริเวณ Thick ascending limb ของ Henle’s loop
ลดการดูดซึมกลับที่บริเวณ Proximal tubule
เพิ่มการขับ Potassium ions, Magnesium ions, Calcium ions และ Sodium ions
เพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือดที่ไต
การนาไปใช้ทางคลินิก
ใช้ในการรักษาภาวะ Hyperkalemia
ใช้ลดอาการบวมจากสาเหตุต่างๆ
ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ใช้ในการรักษาภาวะปอดบวมน้้า (Pulmonary edema)
อาการข้างเคียง
อาการแพ้ยา ได้แก่ ผื่นคัน
ความดันโลหิตต่้า
ระดับ Potassium ในเลือดต่้า
ระดับ Magnesium ในเลือดต่้า
ระดับกรดยูริกในเลือดสูง
การใช้ยาในขนาดสูงท้าให้เกิดความเป็นพิษต่อหูได้
ภาวะขาดน้้าอย่างรุนแรง (Severe dehydration)
อาการผิดปกติต่อระบบทางเดินอาหาร
เนื้อเยื่อไตอักเสบ (Interstitial nephritis)
ตับท้างานผิดปกติ
กลุ่ม Thiazide diuretics
Hydrochlorothiazide (HCTZ), Benzthiazide, Chlorthalidone
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดกลับของ NaCl ที่บริเวณ Distal tubule
มีผลเพิ่ม การขับ Sodium ions และ Chloride ions จากไต
เพิ่มการขับ Potassium ions
ท้าให้ร่างกายสูญเสีย Potassium ions
เพิ่มการดูดซึมกลับของ Calcium ions
การนาไปใช้ทางคลินิก
ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงระดับเล็กน้อย-ปานกลาง
ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวที่มีอาการบวมจากไตท้างานผิดปกติ
ใช้ในผู้ป่วยเบาจืดจากการไม่ตอบสนองต่อ Antidiuretic hormone
อาการข้างเคียง
ระดับ Potassium ในเลือดต่้าท้าให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ และอาจเสียชีวิตได้
ระดับกรดยูริกในเลือดสูง (Hyperurecemia)
ระดับน้้าตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia)
มีการเพิ่มระดับโคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์
เกิดร่างกายอยู่ในภาวะด่าง
ระดับโซเดียมในเลือดต่้า (Hyponatremia)
อาการที่พบได้น้อย เช่น ผิวหนังอักเสบ มีจุดจ้้าแดง
ข้อห้ามใช้
ไม่ควรใช้ยาบ่อยครั้งหรือใช้ยาขนาดสูงในผู้ป่วยตับแข็ง ไตวาย หัวใจล้มเหลว เบาหวาน และโรคเกาท์
ไม่ใช้ร่วมกับผู้ป่วยที่ได้รับยา Digitalis เพราะท้าให้เกิด Digitalis toxicity ได้ง่าย
กลุ่ม Potassium-sparing diuretics
Spironolactone, Triamterene, Amiloride
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ Sodium ions ที่บริเวณ Collecting duct
แลกกับ Potassium ions มีการเก็บ Potassium ions เข้าสู่ร่างกาย ช่วยลดการสูญเสีย Potassium ions
ยับยั้งการท้างานของ Aldosterone โดยปิดกั้นที่ Aldersterone receptor
การนาไปใช้ทางคลินิก
ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์ในการขับปัสสาวะอย่างอ่อน
นิยมใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะอย่างอื่น เช่น Thiazide
Furosemide เพื่อช่วยลดการสูญเสีย Potassium
ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง
รักษาอาการบวมที่ใช้ยาอื่นไม่ได้ผล
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน ปวดศีรษะ
ตะคริวที่ขา
ยูเรียในเลือดสูง
อาจพบเต้านมโตในเพศชาย
ระดับ Potassium ในเลือดสูง
ภาวะร่างกายเป็นกรด จากระดับ Chloride ในเลือดสูง
ภาวะไตวายเฉียบพลัน และนิ่วในไต
กลุ่ม Osmotic diuretics
Manitol
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมของ Sodium และน้้า ที่บริเวณ Proximal tubule descending limb of the loop of henle และ Collecting tubule
โดยการที่ตัวยามีคุณสมบัติในการดูดน้้าจากเนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกายเข้ามาในกระแสเลือด
ท้าให้ปริมาณน้้าและเกลือแร่ผ่านเข้าไตมากขึ้น ขับน้้าและ Electrolyte ออกทางปัสสาวะได้มากขึ้น
การนาไปใช้ทางคลินิก
ใช้ลดความดันลูกตาก่อนและหลังผ่าตัดตา
ใช้ลดความดันในกะโหลกศีรษะ
ป้องกันและรักษาภาวะไตวายเฉียบพลัน
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
อาจพบโซเดียมในเลือดต่้า
การใช้ยาในขนาดสูงอาจท้าให้เกิดภาวะขาดน้้า
กลุ่ม Carbonic anhydrase inhibitors
Acetazolamide
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการท้างานของของเอนไซม์ Carbonic anhydrase
พบมากในบริเวณ Proximal tubule
ส่งผลยับยั้งการดูดกลับของ NaHCO3 ท้าให้เพิ่มการขับปัสสาวะ
การนาไปใช้ทางคลินิก
รักษาโรคต้อหิน โดยลดการสร้างน้้าหล่อเลี้ยงลูกตา
รักษาภาวะร่างกายอยู่ในภาวะเป็นด่างจากการท้างานของไต
ใช้ในการรักษาโรคแพ้ความดันอากาศในที่สูง หรือแพ้ความสูง (Acute mountain sickness)
ใช้ท้าให้ปัสสาวะเป็นด่าง (Urinary alkalinization)
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ ง่วงซึม การรับความรู้สึกผิดไป
ร้อนวูบวาบ
เบื่ออาหาร (Anorexia)
หูอื้อ (Tinitus)
เนื้อตับตาย (Hepatic necrosis)
อาจพบนิ่วในไต
ภาวะร่างกายเป็นกรดจากระดับ Chloride ในเลือดสูง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาขับปัสสาวะ
ประเมินภาวะขาดนา (Dehydration)
ประเมินความดันโลหิต หากพบว่าต่ากว่าปกติให้หยุดยาและรายงานแพทย์
ประเมินนาหนักตัวทุกเช้า และระกับสารนาเข้าออก
ประเมินการเกิดภาวะ Potassium ในเลือดต่า เช่น อ่อนเพลีย ตะคริว ชีพจรไม่สม่าเสมอ
ประเมินการเกิดภาวะ Potassium ในเลือดสูง เช่น กระหายนา ปากแห้ง ง่วงซึม
ประเมินอาการข้างเคียงของยาขับปัสสาวะแต่ละกลุ่ม และแนะนาให้ผู้ป่วยสังเกตอาการข้างเคียงต่างๆ
Thiazide และ Loop diuretic
ควรประเมินการได้ยิน การมองเห็น
อาจให้ยาร่วมกับรับประทาน Potassium เสริม หรือยากลุ่ม Potassium-sparing diuretics
ควรตรวจระดับน้้าตาลในเลือดเป็นประจ้า
ระวังการใช้ยาร่วมกับกลุ่ม Aminoglycoside
Potassium-sparing diuretics
ควรแนะน้าให้จ้ากัดการรับประทานอาหารที่มี Potassium สูง เช่น น้้าผลไม้ ผลไม้ เนื้อปลา กล้วย ถั่ว เพื่อป้องกันภาวะ Hyperkalemia
Carbonic anhydrase inhibitor
ควรแนะน้าให้หลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือการท้างานกับเครื่องจักรกล เนื่องจากยาท้าให้เกิดอาการง่วง
นางสาวภัคนันท์ ภารมาตย์ รหัสนิสิต 6305010136