Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดสัมมนา, นางสาวอริศรา อุ่นจักร์เสาร์ 6101210811 Sec.A - Coggle Diagram
การจัดสัมมนา
ลักษณะของการสัมมนาที่ดี
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบวัตถุประสงค์ของการสัมมนา
- จัดให้มีกิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน
- จัดให้มีกิจกรรมในการเรียนรู้ร่วมกัน
- จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และข้อเท็จจริงร่วมกัน
- ผู้เข้าร่วมสัมมนามีทัศนคติที่ดีต่อปัญหา ข้อเท็จจริง ผู้เข้าร่วมสัมมนา และตนเอง
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องใช้ความคิดร่วมกันในการแก้ปัญหา
-
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้ฟังที่ดี
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้พูดที่ดี
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินการประชุมสัมมนา เพื่อให้งานสัมมนาบรรลุเป้าหมาย
ประโยชน์ของการสัมมนา
- ผู้จัดสัมมนาหรือผู้เรียนสามารถจัดสัมมนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้ แนวคิดจากการสัมมนา สามารถนำไปปรับใช้ในการ
ทำงานและชีวิตส่วนตัวได้
- ผลจากการที่ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้และความสามารถมากขึ้นจากการ
สัมมนา ช่วยทำให้ระบบและวิธีการทำงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
- การจัดสัมมนาจะช่วยแบ่งเบาภาระการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา เพราะผู้ได้บังคับบัญชาได้รับการสัมมนา ท าให้เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานให้ได้ผลดี
- เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จัก ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักใช้ดุลยพินิจวิเคราะห์ปัญหา สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และเกิดภาวะผู้นำ
- เป็นการช่วยให้ผู้เข้าสัมมนาได้ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งจะทำให้มีทัศนะที่
กว้างขวางขึ้นและเกิดแนวคิดของตนเอง
องค์ประกอบของการสัมมนา
1.1 ชื่อเรื่อง
ควรเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาปัญหาหาแนวทางแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับงาน
หรือเรื่องที่กำลังศึกษาอยู่และเป็นเรื่องที่ตนเองถนัด รู้แจ้ง รู้ลึกซึ้งเป็นอย่างดี
-
-
เป็นเรื่องที่ไม่กว้าง ไม่แคบจนเกินไป ควรเป็นเรื่องที่มีขอบเขตเฉพาะเรื่อง
สามารถก าหนดปัญหา และแนวทางการด าเนินการจัดสัมมนาได้ชัดเจน
-
-
1.4 ผลที่ได้จากการสัมมนา
ทำให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับผลประโยชน์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จึงเป็นเรื่องที่ผู้จัดสัมมนา จะต้องมีการกำหนดผลที่คาดว่าจะได้รับจากการสัมมนาไว้ด้วย
ตัวอย่างเช่น ผลที่ได้จากการ สัมมนา ผู้เข้าร่วมสัมมนา จำนวน 90 คน ได้รับความรู้และสามารถนำเอาความรู้ที่ได้จากการ สัมมนาไปพัฒนางานที่ตนปฏิบัติอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1 บุคลากรฝ่ายจัดสัมมนา
คณะกรรมการอาจแบ่งออกเป็นฝ่ายต่างๆ ได้แก่ ประธาน รองประธาน เลขานุการ ฝ่าย ทะเบียน ฝ่ายเอกสาร ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายพิธีการ ฝ่ายอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อทัศนูปกรณ์ ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายปฏิคม และฝ่ายประเมินผล
-
2.3 ผู้เข้าร่วมสัมมนา
ได้แก่บุคคลที่มีความสนใจใฝ่รู้ในปัญหา หรือประสบปัญหา ต้องการแสวงหาแนวความคิดใหม่ๆ หรือมีความมุ่งหมาย ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีพื้นฐานความรู้และมีปัญหาที่สนใจจะศึกษาคล้ายคลึงกัน
ห้องประชุมใหญ่ สามารถบรรจุผู้เข้าร่วมสัมมนาได้จำนวนมาก ควรระบุสถานที่ตั้ง และการเดินทางเข้าถึงสถานที่จัดสัมมนา
ห้องประชุมขนาดกลางหรือขนาดเล็ก อาจต้องมีมากกว่าหนึ่งห้อง ควรอยู่
ในพื้นที่ใกล้กัน หรือบริเวณเดียวกันกับห้องประชุมใหญ
ห้องรับประทานอาหารว่างมุมพักผ่อนนองห้อง หรือหน้าห้องประชุม เป็น
พื้นที่จัดไว้ส าหรับให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้มาพักรวมทั้งเป็นจุดพักรับประทานอาหารว่าง
-
อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ชุดไมโครโฟนชนิดตั้งโต๊ะไมโครโฟนชนิดตั้งพื้น ไมโครโฟนไร้สาย ไมโครโฟนชนิดเล็กใช้หนีบติดปกคอเสื้อ เครื่องขยายเสียง เครื่องฉาย โปรเจก เตอร์โน้ตบุ๊ค และอุปกรณ์ไฟฟ้าเกี่ยวกับเครื่องเสียง สี แสง และอื่นๆ
4.1 ระยะเวลาสำหรับการเตรียมการ ผู้จัดสัมมนาควรวางแผนปฏิบัติงานให้ ชัดเจนว่างานแต่ละอย่างแต่ละประเภทที่ต้องทำนั้นจะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะแล้วเสร็จ จนถึงวันที่ จะต้องจัดสัมมนาเพราะงานบางอย่างต้องทำล่วงหน้าก่อน
4.2 การเชิญวิทยากร เป็นเรื่องส าคัญอีกเรื่องหนึ่ง ที่ผู้จัดสัมมนา ควรจะวางแผนให้ดี เพราะวิทยากรบางท่านเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงมากมักจะไม่ว่างบางท่าน
4.3 วัน เวลา ที่ใช้ในการสัมมนาจะใช้กี่วัน ขึ้นอยู่อับเรื่องที่สัมมนาว่ามีขอบเขต กว้างมาน้อยเพียงใดอาจเพียงวันเดียว บางเรื่องใช้เวลาสามวัน บางเรื่องใช้เวลาถึงห้าวันหรืออาจ มากกว่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความน่าสนใจ ความจำเป็นของเรื่องที่ต้องการรู้
-
5.2 ค่าใช้จ่ายต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องจัดซื้อ ควรมีรายการ ราคาตามท้องตลาด หรืออาจใช้วิธีสืบราคาวัสดุอุปกรณ์เหล่านั้นก่อน เพื่อการประมาณค่าใช้จ่าย จะไม่เกิดข้อผิดพลาด
5.3 จัดทำงบประมาณรวม
การวางแผนเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายเห็นชอบ จากที่ประชุม แล้วจึงจัดทำงบประมาณรวมทั้งโครงการ แล้วเสนอผู้รับผิดชอบหรือเสนอฝ่าย บริหารอนุมัติกรณีที่เป็นการสัมมนาเพื่อพัฒนาองค์กร
ขั้นตอนการจัดสัมมนา
- ระยะเตรียมงาน หมายถึงการวางแผนและเตรียมการในดา้นต่าง ๆ เพื่อให้มีความพร้อมก่อนที่จะดำเนินการจัดสัมมนาทางวชิาการ
-
-
เมื่อได้เตรียมการทุกอย่างไวพร้อมแล้ว ก็จะถึงวันที่ต้องจัดสัมมนาจริง ๆ การจัดสัมมนาจะใช้เวลาเพียงวันเดียวหรือหลายวันหรืออาจใช้เวลานาน 1 – 2 เดือน หรือมากกว่า
ก่อนถึงวันสัมมนาจริงประมาณ 1 – 2วัน คณะกรรมการดำเนินการสัมมนาควรจะได้ทำการสำรวจ ตรวจสอบ ความเรียบร้อยของสถานที่ห้องประชุม วัสดุอุปกรณ์ของใช้ทุกอย่างให้อยู่ในสภาพที่มีความพร้อมจะใช้งานได้และบางอย่างก็ควรเตรียมสำรองไว้ใช้งานด้วยเผื่อขาดเหลือ ประการใดก็จะสามารถนำมาใช้งานได้ทันที
ระยะที่การดำเนินการจัดสัมมนาจริงได้เสร็จแล้วแต่งานก็มิไดส้ิ้นสุดไปด้วยจะมีงานที่จำเป็นต้องจัดทำตามหลังการสัมมนา เพื่อให้งานสำเร็จสมบูรณ์
-
-
-
-
-
-
7.จัดส่งเอกสารการสัมมนาไปให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา หน่วยงานต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องรวมทั้งเก็บไว้ให้ฝ่ายพัฒนาองค์กรเพื่อเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงาน และเพื่อใช้ศึกษา – ปรับปรุง การดำเนินงานสัมมนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ความหมายของสัมมนา
การสัมมนาเป็นการจัด ในลักษณะอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประสบการณ์ หรือ เป็นการระดมความคิด เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เหมาะสำหรับกรณีที่ผู้เข้าร่วมสัมมนามีประสบการณ์ ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน มีความเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น ไม่มีวิทยากร มีแต่ผู้ประสานงาน หรือผู้จัดดำเนินการคอยอำนวยความสะดวก และให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะเลือกผู้นำกลุ่มการสัมมนาจาก ผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยกัน เพื่อเป็นตัวแทนในการรายงานการอภิปรายและดำเนินการสัมมนาไป
-
เพื่อให้กำรสัมมนำได้บรรลุผลตำมควำมต้องกำรในทำงธุรกิจหรือกำรเรียนกำรสอน ในกำร
สัมมนำจึงมีควำมมุ่งหมำยเพื่อ...
- อบรม ฝึกฝน ชี้แจง แนะนำ สั่งสอน ปลูกฝังทัศนะคติและให้คำปรึกษา ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
- พิจารณา สำรวจ ตรวจสอบปัญหา หรือประเด็นต่างๆ ที่หยิบยกขึ้นมาเพื่อทำความเข้าใจในเรื่องที่ต้องการรู้
- เสนอสาระน่ารู้ น่าสนใจ ที่ทันสมัย และเหมาะสมกับสถานการณ์
- แสวงหาข้อตกลง ด้วยวิธีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างเสรี ซักถาม ถกเถียง ปรึกษาหารือ ภายใต้หัวข้อที่กำหนด
- การตัดสินใจหรือกำหนดนโยบาย หรือแนวทางสำหรับนำไปปฏิบัติ
- ให้ได้ข้อสรุปผลของการนำเสนอหัวข้อ หรือการวิจัย
-