Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอด
การแบ่งระยะหลังคลอด
puerperium early วันที่ 2-7วัน
puerperium late ระยะ 2-6สัปดาห์ หลังคลอด
puerperium immediate ระยะ 24ชั่วโมงหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด
มดลูก(Uterus)
7 วันหลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวเหน่ากับสะดือหรือประมาณ 3 นิ้วฟุต เหนือหัวเหน่าหนักประมาณ500 กรัม
2 สัปดาห์หลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่ที่ระดับหัวเหน่า( symphysispubis) มีน้ำหนักประมาณ300 กรัม
2 วันหลังคลอดมดลูกจะหดรัดตัวและลดขนาดลงวันละ½ -1 นิ้ว
6 สัปดาห์หลังคลอดมดลูกจะมีน้ำหนักเท่ากับระยะก่อนตั้งครรภ์คือประมาณ 50 กรัม ขนาด 3 x 2 x 1 ซม.
1ชั่วโมงหลังคลอดมดลูกจะลอยตัวสูงขึ้นมาอยู่ระดับสะดือ เนื่องจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก หนักประมาณ 1000 g.
น้ำคาวปลา(Lochia)
1 LochiaRubra1-3 วันหลังคลอด จะเห็นเป็นสีแดงและไม่เป็นก้อน หรือ ไม่เป็นลิ่มเลือด:เลือด เยื่อเมือก เยื่อบุมดลูก ฯลฯ
2 LochiaSerosa4-10 วัน หลังคลอด จะเห็นเป็นสีน ้าตาลอ่อน หรือสีชมพู มีจ านวนน้อยลง
3 LochiaAlba 11-15 วัน มีสีขาว (Cream) หรือ เหลืองจางๆ จ านวนน้อยมาก จนค่อยๆหมดไป จะหมดในหนึ่งเดือน
ปากมดลูก
เปลี่ยนจากกลมเป็นฉีกขวาง
ประจ าเดือน (Menstruation)
Hormone จะลดลง ใน 10-12 วัน จะเพิ่มขึ้นประมาณ สัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด
ลื่อนประจ าเดือนและการตกไข่ จะตกไข่ประมาน 6เดือน เร็วประมาณ 3 เดือน
เต้านม
หลังคลอดจะขยายเพิ่มมากขึ้น
Lobules เจริญมากเพื่อสร้าง Prolactinที่ Anterior Pituitary, Prolactinจะไป กระตุ้น Breast ให้สร้าง น ้านม
Body temperature
หลังคลอด 24ชั่วโมง จะเพิ่มขึ้นไม่เกิน38oc
สัญญาณชีพ
ชีพจร
ช้าลงอยู่ระหว่าง 60-70ครั้ง/นาทีหรือบางครั้งอาจจะช้าถึง 40-50 ครั้ง/นาที ใน 1-2วันแรกหลังคลอด
ความดันโลหิต
ช่วงเช้าความดันจะต ่า
ช่วงบ่ายDiastolic Pressure อาจเพิ่ม
ถ้าสูงมากกว่า 140/90 mmHg อาจเป็นPre-eclampsia
สูงขึ้นเพียงเล็กน้อยใน 1-24ชั่วโมงแรกหลังคลอด
อัตราการหายใจ
16-24ครั้ง/นาที
ในรายที่มีอัตราการหายใจเร็ว อาจจะมีภาวะแทรกซ้อน ของหัวใจ และปอดจึงต้องเฝ้ าระวังเป็นกรณีพิเศษ
ทางเดินปัสสาวะ
Bladder ความจุเพิ่มขึ้น หลอดไต กรวยไต ขยาย จะกลับสู่ปกติ ใน 2-3 wks
Bladder โป่ง ถ่ายปัสสาวะ ไม่หมด และพบ Infection ได้บ่อย
Bladderบวมแดง (อาจมีเลือดออกใน Submucosa)
Renal Function
หลังคลอด ไตท างานน้อยลง เพราะว่า Hormone ลดลง ท าให้Blood Urea nitrogen เพิ่มขึ้น จากการที่มีการแตกตัวของใยกล้ามเนื้อของมดลูก2
Glumerular filtration ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ Pregnancy ยังคงอยู่ ท าให้ ภายใน 12 ชั่วโมงท าให้ ถ่ายปัสสาวะมาก และ เสียเหงื่อมาก ท าให้น ้าหนักลดลง น ้าหนักลดลง เท่าประมาณ เท่าตอน Pregnancy 6-8 wks,ไตท างานปกติ ภายใน 4-6 wks
Bottom
ริดสีดวงทวารจากการที่ลาไส้ถูกเบียดและเคลื่อนไหวช้าขณะตั้งครรภ์ และ ขณะคลอด
ระบบผิวหนัง
าบริเวณใบหน้า (Chloasma gravidarum) จะจางหายไป
Areola ( ลานนม) จะเข้มขึ้น
Linea nigra (เส้นกลางหน้าท้อง) จะเข้มขึ้นและหายไปช่วงหลังคลอดได้
ร่างกายขับน ้าออกทางผิวหนังจ านวนมาก จะขับเหงื่อในเวลากลางคืนตื่นมาเหงื่อท่วมตัว
อาจพบ รอยแตกของผิวหนังเป็นทางขวาง (Striae gravidarum)จะจางแต่ไม่หายไป
รอยแยกตัวของกล้ามเนื้อ Rectus (Diastasis Recti) ซึ่งอยู่ตรงกลาง ลักษณะ หย่อน นุ่ม เพราะเสียความยืดหยุ่นเนื่องจากยืดขยายนาน
ระบบทางเดินอาหาร
การรับประทานอาหาร
ความอยากรับประทานอาหารลดลง
กระหายน ้ามาก
การขับถ่ายอุจจาระ
การเคลื่อนไหวของล าไส้ลดลง
การสูญเสียน ้าและการถูกจ ากัดอาหารในระหว่างการคลอด
การได้รับการสวนอุจจาระก่อนคลอด
จ็บปวดบริเวณแผลฝีเย็บและริดสีดวงทวาร
การเผาผลาญ
หลังคลอดอาจเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายต ่ากว่าปกติ (Hypothermic reaction) ท าให้เกิดอาการหนาวสั่นหลังคลอด (Postpartum chill)
ฮอร์โมน
ภายใน3ชั่วโมงหลังคลอดฮอร์โมนเอสโตรเจนจะลดลงเรื่อยๆและจะลดลงต ่าส ุดในวันที่7หลังคลอด
ประมาณ 1 สัปดาห์จะตรวจไม่พบโปรเจสเตอโรนในซีรัมและจะผลิตใหม่อีกครั้งเมื่อมีการตกไข่ครั้งแรก
ภายหลัง24ชั่วโมงหลังคลอดฮอร์โมนจากรกจะลดลงอย่างรวดเร็วตรวจไม่พบฮอร์โมนHPL,HCSแต่HCGจะมีระดับต ่า
ระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (Pituitary hormones)
ในมารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาการดูดนมของทารกจะท าให้ระดับ prolactinเพิ่มขึ้น
มารดาที่ไม่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาระดับ prolactinจะลดลงเ
การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่ออื่น ๆ
nsulinaseซึ่งจะเป็ นปัจจัยต่อต้านอินสุลิน(Anti insulin factors) ดังนั้นมารดาหลังคลอดจึงมีระดับน ้าตาลในเลือดต ่าภายในสัปดาห์แรกหลังคลอด และมารดาหลังคลอดที่เป็ นเบาหวานก็ต้องการ insulin ต ่าลง
ต่อมไทรอยด์
กลับสู่ภาวะปกติเหมือนตอนไม่ตั้งครรภ์ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด
ฮอร์โมนจากรก (Placental hormones)
หลังคลอดระดับของฮอร์โมนจากรกใน พลาสมาจะ ลดลงอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอดจะตรวจไม่พบ Human Placental Lactogen: HPL ,Human Chorionic Somatomammotropin: HCS และประมาณปลายสัปดาห์แรกหลังคลอดระดับของฮอร์โมน Human Chorionic Gonadotropin: HCG จะลดลง ดังนั้นถ้าทดสอบปัสสาวะจึงได้ผลลบ
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน(Progesterone) ประมาณวันที่ 3 หลังคลอด และ1 สัปดาห์หลังคลอดจะตรวจไม่พบในซีรั่มและจะมีการผลิตใหม่อีกครั้ง เมื่อมีการตกไข่ครั้งแรกหลังคลอด
ฮอร์โมนเอสโตรเจน(Estrogen) จะลดลงร้อยละ 10 ภายใน 3 ชั่วโมงหลังคลอด จนกระทั่งเข้าส ู่วันที่ 19-21 หลังคลอดจึงจะตรวจพบฮอร์โมนเอสโตรเจนระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนจะกลับคืนส ู่ระดับปกติช้ากว่าหญิงที่ไม่ได้เลี้ยงบ ุตรด้วยน ้านมตนเอง
น ้าหนัก Body condition
จะลดลง 5-8 Kgsเพราะว่า รก เด็ก น ้าหล่อเด็ก เสียเลือด
ต่อมา จะลดลง2-3 kgsหรือมากกว่า ขึ้นกับ การออกก าลังกาย อาหาร Breast feeding
ระบบเลือด
ฮีมาโตคริทและฮีโมโกลบิน ระยะ 3 วันแรกหลังคลอดจะมีการสูญเสียปริมาณ พลาสมามากกว่าเซลล์เม็ดเลือด จึงท าให้ Hct.เพิ่มขึ้นในวันที่ 3-7หลังคลอดกลับสู่ระดับปกติประมาณ 4-5 สัปดาห์หลังคลอด ในระยะหลังคลอด Hctไม่ต ่ากว่า 30% Hb. ไม่ต ่ากว่า 10 gm % หากต ่ากว่านี้ต้องประเมินภาวะซีดร่วมด้วย
เม็ดเลือดขาว ระยะ 10-12 วันหลังคลอด จ านวนเม็ดเลือดขาวอยู่ระหว่าง 20,000-25,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร ซึ่งถือว่าเป็นภาวะปกติ แต่อาจมีค่าสูงถึง 30,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร ซึ่งเป็นกลไกการป้ องกันการติดเชื้อ และช่วยส่งเสริมการหายของแผล
องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด (Coagulation factors)ในขณะตั้งครรภ์มีค่าความเข้มข้นขององค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด (Coagulation factor I, II, VII, VIII, IX, X) เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะช่วยควบคุมการเสียเลือดบริเวณแผลที่รกเกาะในโพรงมดลูก และจะลดลงภายใน 2-3 วันหลังคลอด ยกเว้น Coagulation factor I จะยังคงเพิ่มในช่วง 7-10 วันหลังคลอด เพื่อช่วยควบคุมการเสียเลือดจากแผลรกเกาะในโพรงมดลูก จากการเพิ่มขององค์ประกอบในการแข็งตัวของและการท างานเกี่ยวกับการละลายลิ่มเลือดลดลง ถ้าหากมีการติดเชื้อ ได้รับบาดเจ็บจากการคลอด หรือไม่มีการเคลื่อนไหว จะเป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดภาวะหลอดเลือดด าอุดตัน (Thromboembolism) ได้ง่าย
ระบบประสาท
หญิงตั้งครรภ์บางรายมีคลอดทางช่องคลอดอาจได้รับยาแก้ปวด หรือยาชา และภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอดจะกลับสู่สภาพเดิมเมื่อฤทธิ์ยาถูกเผาผลาญและก าจัดออกจากร่างกาย
ะบบภ ูมิค ุ้มกัน
ภาวะภูมิคุ้มกันต่อปฏิกิริยาการไม่เข้ากันของหมู่เลือด (Blood-type incompatibilities) นอกจากจะเกิดจากRhแอนติเจนแล้ว อาจเกิดจากหมู่เลือด ABO ด้วย ท าให้เกิดเม็ดเลือดแดงแตกในระดับเล็กน้อยจนถึงปานกลาง ทารกจะแสดงอาการตัวเหลืองภายใน24 ชั่วโมงหลังคลอด
ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระด ูก
กล้ามเนื้อ 1-2 วันแรกมารดาหลังคลอดจะมีอาการเมื่อยและปวดกล้ามเนื้อ เนื่องจากออกแรงเบ่งขณะคลอด และฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลงหลังคลอด ส่วนกล้ามเนื้อหน้าท้องจะนุ่มหยุ่นไม่แข็งแรงและจะหน้าขึ้นบริเวณกลางท้อง บางรายอาจมีกล้ามเนื้อหน้าท้องแยก (Diastasisrectiabdominis)
โครงกระดูก หลังคลอด 2-3 วันระดับฮอร์โมนรีแลคชินค่อยลดลง แต่ยังคงเจ็บปวดบริเวณตะโพกและข้อต่อ อาการปวดดังกล่าวจะเป็นชั่วคราวเท่านั้น ไม่ต้องใช้ยารักษา
การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
Postpartum blue
ช่วง 2-3 วัน จะวิตกกังวล สับสน เกี่ยวกับ ตนเอง ลูก การแสดงออก อาจมีอาการ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้ง่าย เนื่องจาก
อนเพลียจากการคลอด จากสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลที่ท าให้พักผ่อนได้น้อย
กังวลเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก
ร่างกายเปลี่ยนแปลง ที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย
กลัวการรักษา เนื่องจากไม่ทราบขั้นตอนในการปฏิบัติตัวว่าควรจะท าอย่างไร
ตื่นเต้น กลัวการตั้งครรภ์ การคลอด
ฮอร์โมนที่ลดต ่าลงมากใน 3-5วันแรกหลังคลอด
รู้สึกว่าตนเองสูญเสียความส าคัญโดยเฉพาะสามีและผู้เกี่ยวข้อง
รู้สึกไม่มั่นใจต่อการปรับตัวในบทบาทของการเป็นมารดา
ต้องแยกจากครอบครัว รู้สึกสูญเสียความงาม
ระยะการปรับตัวของมารดา
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา (Taking-in Phase)
ต้องการพึ่งพาผู้อื่นสู
เฉื่อยชาไม่ค่อยเคลื่อนไหว
ยอมรับการช่วยเหลือที่สนองความต้องการด้านร่างกายและจิตใจ
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-Hold Phase)
มีการปรับตัวกับชีวิตใหม่
มารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น
สนในตนเองน้อยลงและสนใจบุตรมากขึ้น
ระยะอิสระ (Interdependent phase หรือ Letting go phase)
ตระหนักและยอมรับความจริงว่าทารกไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของร่างกายตนเองอีกต่อไปแล้ว แต่แยกออกไปเป็นอีกบุคคลหนึ่ง
ต้องทิ้งบทบาทเดิมที่เป็นอิสระ ไม่มีบุตรต้องค่อยห่วง ระยะนี้มารดาอาจรู้สึกเสียใจหรือเครียดเล็กน้อยได้