Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมแก่มารดาในระยะคลอดปกติ - Coggle Diagram
การพยาบาลแบบองค์รวมแก่มารดาในระยะคลอดปกติ
การทำคลอดปกติ
การเตรียมตัวผู้คลอด
ท่านอนหงายชันเข่า: dorsa recumbent position
.เหนื่อยน้อยกว่าการคลอดในท่านอนตะแคงซ้าย
..สามารถผลักดันตนเองในการเบ่งคลอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
.เหมาะสำหรับผู้คลอดที่เป็นโรคหัวใจเพราะมารดาสามารถพักได้เต็มที่
ท่านอนตะแคง
ท่านอนหงายขึ้นขาหยัง
.ช่วยให้ช่องทางคลอดขยายได้กว้างขึ้น
.สะดวกในการทำสูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
.ข้อเสียคืออาจเกิด thrombophlebitis ได้จากการที่ขาของมารดากดทับกับขาหยั่งเป็นเวลานาน
.การป้องกันการฉีกขาดของช่องทางคลอดทำได้ยากจึงเกิดการฉีกขาดของช่องทางคลอดได้ง่าย
การคลอดในท่าลำตัวตั้งขึ้น (Upright position)
ผลดีลดอาการเจ็บครรภ์
•ลดโอกาสที่จะมีการฉีกขาดบริเวณฝีเย็บและในช่องคลอด
•อาจจะลดระยะเวลาในการเจ็บครรภ์ได้
•ช่วยให้คะแนนแอพการ์ (Apgar) ของทารกดีขึ้น
ผลเสีย
.อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการสูญเสียเลือดจากการฉีกขาดบริเวณแคมช่องคลอด
การแนะนำเกี่ยวกับการเบ่ง
คลอดเบ่งขณะมดลูกมีการหดรัดตัว
เบ่งในท่านอนหงายหรือท่า Lithotomy มือทั้ง 2 ข้างจับข้างเตียงส้นเท้าจิกกับที่นอน
เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้สูดหายใจเข้าให้เต็มที่ยกหัวให้คางชิดอกและอัดกำลังเบ่งลงข้างล่างเหมือนเบ่งถ่ายอุจจาระเบ่งนานไม่เกิน 8 วินาที
หากมดลูกยังหดรัดตัวให้เบ่งซ้ำ (เบ่งได้ 3-4 ครั้ง / การหดรัดตัว 1 ครั้ง)
:red_cross: ข้อควรระวังในการเบ่งคลอด
ระวังการเกิด Valsalva maneuver
คือการกลั้นหายใจและปิดกล่องเสียงขณะเบ่งคลอดการเบ่งคลอดแบบนี้จะเพิ่มความดันในช่องอกลดปริมาณเลือดที่จะกลับมาจากส่วนล่างของร่างกายช่วงแรก BP ของมารดาจะเพิ่มขึ้นต่อมาจะลดลงและส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงรกลดลง
การเตรียมสถานที่
สถานที่ควรได้รับการดูแลให้สะอาดอยู่เสมอ
บางสถานที่ต้องเตรียมโคมไฟส่อง
การทำคลอดปกติ
เพื่อช่วยให้ทารกคลออดอย่างปลอดภัย
เพื่อให้มารดาปลอดภัย และลดความบอบช้ำจากการคลอด
การทำคลอดศีรษะทารก
การทำคลอดไหล่และลำตัวทารก
การทำคลอดไหล่ :warning:
การทำคลอดไหล่หน้า
การทำคลอดไหล่หลังและลำตัว
ระยะเวลาที่ควรหนีบหรือผูกสายสะดือ
หากหนีบหรือผูกหลังคลอด-3 นาทีช่วยให้ทารกได้เลือดเพิ่ม-30 มล. ช่วยป้องกันภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
หากหนีบหรือผูกหลังคลอดทันทีจะช่วยลดการเสียเลือดหลังคลอดของมารดาได้อย่างชัดเจน
WHO แนะนำให้หนีบและตัดสายสะดืออย่างรวดเร็ว (หลังคลอด-1 นาที) เพราะช่วยลดการเสียเลือดของมารดาซึ่งพบได้บ่อยกว่าภาวะซีดในทารกแรกเกิด :check: :