Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นาย ธีภพ จ่ารุ่ง ที่ 33 รหัส…
การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
จำแนกตามน้ำหนัก
ทารกแรกเกิดมีน้าหนักน้อย (low birth weight infant) คือ ทารกที่มีน้าหนักแรกเกิดต่ากว่า 2,500 กรัม ในกลุ่มนี้อาจแบ่งย่อยเป็น
ทารกที่มีน้าหนักต่ากว่า 1,500 กรัม (very low birth weight)
ทารกที่มีน้าหนักต่ากว่า 1,000 กรัม (extreme low birth weight )
ทารกแรกเกิดมีน้าหนักปกติ (normal birth weight infant) คือ ทารกที่มีน้าหนัก แรกเกิด 2,500 – 4,000 กรัม
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดครบกาหนด (term or mature infant) คือ ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์เต็ม
ทารกแรกเกิดเกินกาหนด (post term infant) คือ ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกคลอดก่อนกาหนด (preterm infant) คือ ทารกที่มีอายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็มหรือต่ากว่านี้
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
มารดา
อายุมารดาน้อยกว่า 18 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
โรคประจาตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ
มีประวัติคลอดก่อนกาหนด
มดลูกขยายตัวมากเกินไป เช่น ครรภ์แฝด ภาวะน้าคร่ามากกว่าปกติ
ติดเชื้อในร่างกาย
ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ใช้ยาเสพติดขณะตั้งครรภ์
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
ลักษณะทารกคลอดก่อนกาหนด
น้าหนักน้อย
รูปร่าง แขนขามีขนาดเล็ก
ศีรษะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลาตัว กะโหลกศีรษะนุ่ม รอยต่อกะโหลกศีรษะและขม่อมกว้าง
เปลือกตาบวมและนูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
การเจริญของกระดูกหูมีน้อย ใบหูอ่อนนิ่มเป็นแผ่นเรียบ งอพับได้ง่าย
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้า ไขมันคลุมตัว (Vernix caseosa) มีน้อยหรือไม่มีเลย
พบขนอ่อน (Lanugo hair) ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน ส่วนผมมีน้อย
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) น้อย ผิวหนังเหี่ยวย่น
ปัญหาที่พบได้ในทารกคลอดก่อนกาหนด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
คือ
ทารกแรกเกิดจะไวต่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ศูนย์ควบคุม อุณหภูมิร่างกายที่hypothalamus, CNSเจริญเติบโตไม่เต็ม
อาการ
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
การวัดอุณหภูมิทารก
ภาวะอุณหภูมิกายสูง(Hyperthermia)
การควบคุมอุณหภูมิกายทารกที่อยู่ในตู้อบ
ระบบการไหลเวียนโลหิต
การหายใจของทารกแรกเกิดเปลี่ยนจากรกเป็นปอด
Fetal circulation เป็น Neonatal circulation
ส่งผลให้
Foramen ovale ปิดสมบูรณ์
Ductus arteriosus จะหดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น(ligamentum arteriosum)
Ductus venosus ปิดเมื่อสายสะดือถูกตัดกลายเป็นเอ็นที่ตับ (ligamentum venosum)
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
ระดับบิลิรูบินในเลือดสูงจะทำให้เข้าไปจับกับเนื้อสมองด้านในทำให้เกิดอาการผิดปกติทางสมอง เรียกว่า Kernicterus
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
RDS (Respiratory Distress Syndrome)
คือ
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบากพบ ได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนดที่GA< 1,500 gm. อายุครรภ์ต่ำกว่า 28 wks น้ำหนักน้อย
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอดได้แก่ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกรานของมารดาคลอดติดไหล่ความผิดปกติของสายสะดือ ครรภ์แฝด ทารกท่าผิดปกติ
ปัจจัยทางด้านมารดาได้แก่ ตกเลือด อายุมาก เบาหวาน รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อน
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก ได้แก่ ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ภาวะติดเชื้อในครรภ์
การรักษาประคับประคองและการรักษาตามอาการสำคัญที่สุด
ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
งดอาหารทางปากชั่วคราวให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือด
ให้ความอบอุ่นและควบคุมทารกให้อุณหภูมิปกติ
ให้เลือด ถ้าความเข้มข้นของเลือดตำหรือเสียเลือด
การสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
หลังจาก 12 ชั่วโมง ให้ระวังอาการชัก
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
Apnea of prematurity(AOP)
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที ร่วมกับมี cyanosis
การดูแลระบบทางเดินหายใจ เช่นการจัดท่านอนที่เหมาะสม สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
คือ ภาวะเลือดในโพรงสมอง
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
โรคปอดอุดกันเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia:BPD)
เป็นโรคปอดเรื้อรัง
Sepsis
1.Early onset Sepsis คือ ติดเชื้อในระยะก่อน/ ระหว่างการคลอด แสดงอาการภายใน 2-3 วัน แรกหลังคลอดภายใน 72 ชั่วโมงแรก
2.Late onset Sepsis คือ ติดเชื้อที่แสดงอาการ หลังคลอด 72 ชั่วโมงถึง 1 เดือน
.ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
คือ
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบเป็นภาวะที่ของระบบทางเดินอาหาร ตายจากการอักเสบจนขาดเลือด มักเกิดบริเวณลำไส้ เล็กและลำไส้ใหญ่ในทารกแรกเกิดที่น้ำหนักตัวน้อย
สาเหตุ
การคลอดก่อนกำหนดการเริ่มรับนมและการเพิ่มปริมาณนมเร็ว ภาวะขาดออกซิเจน
ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถทา ให้ทารกแรกเกิดมีโอกาสเกิดภาวะลำไส้เล็กเน่า
มีพยาธิสรีรภาพ
จากปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งจนทา ให้ลำไส้
เกิดการอักเสบนำไปสู่การทำลายเยื่อบุผิวลำไส้
รวมถึงเชื้อแบคทีเรียแบคทีเรียลุกลามเข้าไปสู่
ผนังลำไส้ทำให้เนื้อเยื่อในลำไส้
อาการ
: เซื่องซึม (lethargy) ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้องกวน
อุณหภูมิกายต่ำหยุดหายใจ หัวใจเต้นช้า มีภาวะกรดเกิน โซเดียมต่ำและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะได้แก่
ท้องอืด
-ถ่ายอุจาระเหลว
Hypoglycemia
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ หมายถึง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 mg% (term) ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 35 mg% (preterm)
อาการ
: ซึมไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวาอาการสั่น ซีด หรือเขียวหยุด หายใจ ตัวอ่อนปวกเปียกอุณหภูมิกายต่ำชักกระตุก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไวน้อยจึงสร้างกลูโคสได้
การสร้างกลูโคส (glucogenesis) ได้น้อย
มีภาวะเครียดขณะอยู่ในครรภ์
การดูแล ทารกที่มีอาการร่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.
ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด(10% D/W)
Meconium aspiration syndrome (MAS)
เป็นภาวะที่ทารกในครรภ์ สูดสาลักหรือหายใจเอาขึ้นเท่าที่มีอยู่ในน้ำคร่ำข้าไปในหลอดลมหรือปอดส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจลำบาก
อาการ
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100ครั้งต่อนาที
สาเหตุ อายุครรภ์มากกว่า 42 wks ส่งผลให้รกเสื่อมสภาพ ความดันโลหิตสูงขณะตังครรภ์ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ผ่านรกมายังทารกน้อยลง
พัฒนาการพฤติกรรมทางระบบประสาท
เพื่อให้ทารกมีพฤติกรรมทางระบบประสาทที่เหมาะสม
เนื่องจาก
ช่วงเวลาที่อยู่ในครรภ์มารดาซึ่งมีความเหมาะสมต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ มีน้อย
สิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วยไม่เหมาะสม เช่น แสง เสียง ที่มากเกินไป
ความเจ็บป่วยของทารกทำให้ได้รับการรักษาที่ส่งผลต่อพัฒนาการ เช่น อยู่ในเปิดเผยร่างกายจับต้องมากเกินจำเป็น เจ็บปวดจากการตรวจรักษา
เป็นบทบาทที่สำคัญของพยาบาล
ขณะมารดาอยู่ในโรงพยาบาล ส่งเสริม กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกหลังคลอดให้เร็วที่สุด (ถ้า
มารดาไม่มีข้อจำกัด)
สอนให้มารดาทราบ ถึงพฤติกรรมหรือสื่อสัญญาณของทารก กระตุ้นให้บิดามารดาอุ้มกอด
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
การสังเกตพฤติกรรมหรือสื่อสัญญาณของทารก
ทารกเกิดก่อนกำหนดมีพัฒนาการของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทไม่สมบูรณ์
ไม่สามารถแสดงสื่อสัญญาณได้ชัดเจนเหมือนในทารกครบกำหนด เช่น เวลาทารกหิวอาจไม่สื่อสัญญาณ
นาย ธีภพ จ่ารุ่ง ที่ 33 รหัส 62111301034