Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biliary Atresia, Meconium Aspiration Syndrome ; MAS, Persistent Pulmonary…
Biliary Atresia
-
-
คำนิยาม
- โรคทางเดินน้ำดีตีบตัน (Biliary Atresia) เป็นผลของพยาธิ
สภาพที่มีการอักเสบและการเกิดเนื้อเยื่อพังผืดอย่างต่อเนื่องของระบบทางเดินน้ำดีในทารกแรกเกิดทำให้เกิดการตีบตันของทางเดินน้ำดีทั้งในตับและนอกตับอย่างถาวร ซึ่งจะทำให้น้ำดีซึ่งสร้างจากเซลล์ตับไม่สามารถไหลลงสู่ลำไส้เล็กส่วนต้นได้ ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดแก้ไข ร้อยละ 95 จะเสียชีวิตภายใน 2 ปีจากภาวะแทรกซ้อนของ secondary biliary cirrhosis
-
การรักษา
- าพบว่าทารกนั้นเป็นโรคทางเดินน้ำดีตีบตัน ก็มักจะพบถุงน้ำดีฝ่อเล็ก บางครั้งไม่มี lumen ภายใน ฉีดสารทึบรังสีเพื่อแสดงทางเดินน้ำดีไม่ได้ หรืออาจเป็นชนิดที่ถุงน้ำดี และท่อน้ำดีส่วนปลาย เจริญตามปกติ ฉีดสารทึบรังสีลงสู่ลำไส้ได้ แต่ไม่พบ ท่อทางเดินน้ำดีส่วนต้น ที่ติดต่อเข้าไปในตับ วิธีรักษาในปัจจุบัน แนะนำให้ทำการผ่าตัด hepatic portoenterostomy โดยนำเอาลำไส้ไปต่อกับเนื้อเยื่อขั้วตับ เพื่อให้ bile canaliculi ขนาดเล็กๆ บริเวณนั้น สามารถระบายน้ำดีลงสู่ลำไส้ได้ ลำไส้ที่นำไปต่อได้
-
-
-