Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นางสาวอารยา ชูระเชตุ เลขที่ 107…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
การนำ (Conduction) เกิดจากผิวของทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น
การพา (Convection) เป็นการพาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อมที่เย็นกว่า
การแผ่รังสี (radiation) การสูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่า แต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
การระเหย (evaporation) การสูญเสียความร้อนเมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้ำ
แบ่งเป็น
Hypothermia
หมายถึงอุณหภูมิกายต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเซียส• แต่ทารกแรกเกิดอาจมีอาการผิดปกติตั้งแต่อุณหภูมิกายต่ำกว่า 36.8 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรกคือมือเท้าเย็นตัวซีดผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัวซึมดูดนมช้าดูดนมน้อยลงหรือไม่ดูดนมอาเจียนท้องอืดน้ำหนักไม่ขึ้นหรือน้ำหนักลดเป็นต้น
Hyperthermia
หมายถึงอุณหภูมิกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส•อาจเกิดจากการติดเชื้อการอยู่ในอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมที่ร้อนเกินไป
•อาการเริ่มแรกคือจะหงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้นมีการเคลื่อนไหวลดลงหายใจเร็วและแรงหรือหยุดหายใจซึมสัมผัสผิวหนังพบว่าอุ่นกว่าปกติ
เกิดจาก
•พื้นผิวของร่างกายมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว
•มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย•ต่อมเหงื่อยังทำหน้าที่ได้ไม่ดีจนกว่าอายุ 4 wks
ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิร่างกายที่ hypothalamus, CNS เจริญเติบโตไม่เต็มที่
ทารกแรกเกิดจะไวต่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
ผิวหนังบางทำให้เส้นเลือดอยู่ชิดกับผิวหนัง
•ความสามารถในการผลิตความร้อนโดยไม่ควบคุมยังน้อยเช่นการสั่น
การดูแล
วัดอุณหภูมิ Body temperature ทารก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
keep Warm (warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว)
-ระวัง“ Cold stress-
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม. และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ปรับอุณหภูมิห้องให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม (25-26 องศาเซลเซียส)
การควบคุมอุณหภูมิกายทารกที่อยู่ในตู้อบ
เป้าหมายให้อุณหภูมิกายทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติคือ36.8-37.2องศาเซลเซียส
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือหรือปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ (Air Servocontrol mode)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นครั้งละ 0.2 องศาเซลเซียส (max 38.0 องศาเซลเซียส)
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 – 30 นาที ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้ 36.8 -37.2 องศาเซลเซียส 2 ครั้งติดกันให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral thermal environment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15-30 นาทีอีก 2 ครั้งและต่อไปทุก 4 ชม.
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ (Skin Servocontrol mode)
-ติด Skin probe บริเวณหน้าท้องโดยหลีกเลี่ยงบริเวณตับและ bony prominence
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36.5 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นครั้งละ 0.1 องศาเซลเซียส (max 38.0 องศาเซลเซียส)
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 – 30 นาที (max 38.0 องศาเซลเซียส)-ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้ 36.8-37.2 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2 ครั้งติดกันให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral thermal environment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15 -30 นาทีอีก 2 ครั้งและต่อไปทุก 4 ชม
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน (Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วหอบเหนื่อยรับนมได้น้อยท้องอืด (เลือดไหลลัดไปปอดทำให้เลือดไปเลี้ยงลำไส้ลดลง) น้ำหนักไม่ขึ้น
การรักษา
การรักษาทั่วไปให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การรักษาจำเพาะ
-โดยใช้ยาเพื่อช่วยยับยั้งการสร้าง prostaglandin Indomethacin ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก. / กก. ทุก 8 ชม. ข้อห้ามใช้• BUN> 30 mg / dl, Cr> 1.8 mg / dl
Plt. <60,000 / mm3
urine <0.5 cc / Kg / hr. นานกว่า 8 hr. * มีภาวะ NEC Ibuprofen ข้อห้ามใช้ * BUN> 20 mg / dl, Cr> 1.6 mg / dl
-การผ่าตัด PDA ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
เกิดจากบิลลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
ระดับบิลิรูบินในเลือดสูงจะทำให้เข้าไปจับกับเนื้อสมองด้านในทำให้เกิดอาการผิดปกติทางสมองเรียกว่า Kernicterus
อาการระยะแรก: จีนดูดนมน้อยลงด้วย่อนปวกเปียกเกร็งหลังแอ่นรักมีใช้
อาการระยะยาว: มีการเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขามีความผิดปกติของการได้ยินและการเคลื่อนไหวลูกตาพัฒนาการช้าระดับสติปัญญาลดลง
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติจากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้นจากภาวะต่างๆเช่นภาวะลำไส้อุดตัน
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตันการขาดเอนไซต์บางชนิด แต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง ได้แก่ การติดเชื้อ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้นจากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (breastfeeding jaundice) เกิดจากได้รับน้ำนมข้าไม่เพียงพอการกำจัดขี้เทาช้าทำให้มีการดูดซึมกลับของบิลิรูบินพบในทารกอายุ 4-7 วัน
การวินิจฉัย
การซักประวัติ-ประวัติมีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตง่ายหรือไม่-มารดามีโรคประจำตัวการได้รับยาการติดเชื้อในระหว่างตั้งครรภ์หรือไม่-ประวัติการคลอดของทารกคะแนน Apgar การได้รับบาดเจ็บในระยะคลอด
การตรวจร่างกายขีดเหลืองตับม้ามโตหรือไม่มีจุดเลือดออกบริเวณใดหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC, Coombs test, LFT, G6PD)
การรักษา
การส่องไฟ phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การรพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา
เช็ดทำความสะอาดตาและตรวจตาของทารกทุกวันเพราะอาจมีการระคายเคืองจากผ้าปิดตาทำให้ดาศักดสบ
ควรเปิดตาทุก 4 ชม. และเปลี่ยนผ้าปิดตาทุก 8-12 ชม. ระหว่างให้นมควรเปิดผ้าปิดตาเพื่อให้ทารกได้สบตากับมารดาเป็นการกระตุ้นความรักผูกพันกันระหว่างมารดากับทารก•ออดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงายหรือนอนคว่ำและเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชมเพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง•ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟห่างจากหลอดไฟ 35-50 ซม.
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 14 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระระหว่างการส่องไฟทารกอาจถ่ายอุจจาระบ่อยขึ้นอาจจะมีอาการถ่ายเหลวสีเขียวปนเหลืองจากบิลิรูบินและน้ำดี
บันทึกลักษณะและจำนวนอุจจาระอย่างละเอียดเพื่อประเมินภาวะสูญเสียน้ำ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม. เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโรคอย่างต่อเนื่อง
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา ได้แก่ ภาวะขาดน้ำถ่ายเหลวดูดนมไม่ดีมีพื้นที่ผิวหนังหรือกาวะแทบพยนที่ตา
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
RDS (Respiratory Distress Syndrome)
การป้องกัน
มารดาที่มีความเสี่ยงจะคลอดก่อนกำหนด แต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตกโดยเฉพาะอายุครรภ์ 24-34 สัปดาห์ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอดเพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างสารลดแรงตึงผิวและปอดมีความสมบูรณ์มากขึ้นที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ชนิดคือ-Betamethazone 12 img ทางกล้ามเนื้อทุก 24 ชั่วโมงจนครบ 2 ครั้ง Dexamethazone 6 mg ทางกล้ามเนื้อทุก 12 ชั่วโมงจนครบ 4 ครั้ง
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิดซึ่งจะทำให้เลือดเป็นกรดขัดขวางการทำงานของการสร้างสารลดแรงตึงผิว
อาการและอาการแสดง
ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบทางเดินหายใจ.-หายใจเร็ว (tachypnea) มากกว่า 60 ครั้ง / นาทีหรือหายใจลำบาก dyspnea)-หายใจหน้าอกและหน้าท้องไม่สัมพันธ์กัน-เสียงหายใจผิดปกติมีการกลั้นหายใจขณะหายใจออก (expiratory grunting)
ระบบทรวงอก. หน้าอกปุ่ม (retraction) บริเวณ Intercostal, Subwcostal และ Substernal retraction จากการหดตัวอย่างแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ
การรักษา
•การให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารกเช่นการใช้เครื่องช่วยหายใจ
•ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจนโดยการปรับลดความเข้มข้นและอัตราไหลของออกซิเจนภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจนเช่นกาะปอดอุดกั้นเรื้อรัง (BPD) ภาวะจอประสาทตาพิการจากการเกิดก่อนกำหนด (ROP)
•ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้นลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
Perinatal asphyxia
เป็นภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
ประกอบด้วยภาวะ
-เลือตขาดอกซิเจน hypoxemia)
-คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercapnia)
-เลือดเป็นกรดเนื่องจากการระบายอากาศที่ปอต (ventilation) และการกำซาบของปอด (pulmonary perfusion) ไม่เพียงพอ
แบ่งเป็น
• No asphyxia คะแนนแอพการ์ 8-10
• Mild asphyxia คะแนนแอพการ์ 5-7
• Moderate asphyxia คะแนนแอพการ์ 3-4
• Severe asphyxia คะแนนแอพการ์ 0-2
ผลของการขาดออกซิเจนแรกคลอด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด-ศูนย์ควบคุมการทำงานของหัวใจถูกกดเป็นผลให้หัวใจเต้นช้าลง-การขาดออกซิเจนและการลดลงของไกลโคเจนของหัวใจทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานมีประสิทธิภาพลดลงหัวใจพองขยายความดันโลหิตต่ำเกิดภาวะช็อกจากหัวใจ-การขาดออกซิเจนมากของหัวใจทำให้เกิดภาวะหัวใจวาย-การมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อหัวใจลดลงทำให้ลิ้นหัวใจหลอดเลือดหัวใจถูกทำลายเกิด-เป็นหัวใจปิดไม่สนิท
ระบบหายใจ-ศูนย์หายใจถูกกดทำให้หายใจช้าหรือหยุดหายใจ-เนื้อเยื่อปอดขาดออกซิเจนมาก ๆ ทำให้เซลล์ถุงลมไม่สามารถสร้างสารลดแรงตึงผิวได้เกิดกลุ่มอาการหายใจลำบาก-การรั่วของซีรั่มจากหลอดเลือดปอตจากเยื่อบุพลอดเลือดเสียหน้าที่ทำให้เกิดภาวะปอดตั้งน้ำ
ระบบประสาทกลาง-ทารกจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับการรู้สติหายใจไม่สม่ำเสมอหยุดหายใจรีเฟล็กซ์ลดลงกำลังกล้ามเนื้อลดลงหรืออาจชักได้-เลือดออกในสมองจากหลอดเลือดของสมองเสียความคงทนแตกได้ง่าย-ภาวะชักจากคอร์เท็กซ์ของสมองถูกทำลาย-ภาวะสมองบวมจากการคั่งของสารน้ำทั้งภายในและภายนอกเซลล์ของสมอง
ระบบการขับถ่าย-ไตจะไวต่อภาวะขาดออกซิเจนการขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยงทำให้หลอดฝอยของไตหรือเนื้อไตเกิดเนื้อตายเฉียบพลันปัสสาวะลดลงหรือไม่ปัสสาวะใน 48 ชั่วโมงหลังคลอดหรือปัสสาวะเป็นเลือด 5. ระบบทางเดินอาหาร-เลือดไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารลดลงทำให้เกิดภาวะลำไส้เน่า-ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำบิลิรูบินในเลือดสูง
Apnea of prematurity (AOP)
•ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาทีร่วมกับมี cyanosis
แบ่งเป็น
central apnea
obstruction apnea
สาเหตุ
prematurity
infection
metabolic disorder
Impaired oxygenation
CNS problem
drug
Gastroesophageal reflux
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม:
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
การวินิจฉัยด้วยการตรวจ ultrasound เป็นวิธีที่ดีและดีและสะดวกที่สุด
ความรุนแรงของ IVH แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
grade 1: มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2: มีเลือดออกในโพรงสมองและขนาดของโพรงสมองปกติ
grade 3: มีเลือดออกในโพรงสมองและขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade4: มีเลือดออกในโพรงสมองร่วมกับเลือดออกในเนื้อสมอง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
•มีการทำลายของทางเดินหายใจขนาดเล็ก
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่าปกติหน้าอกปุ่ม (intercostal retraction)
ออกซิเจน ในเลือดต่ำกว่าปกติ CO.2 ในเลือดคั่ง
ความดันในปอดสูง (pulmonary hypertension) ในรายที่รุนแรง
•การรักษา-ตามสาเหตุ-ตามอาการเช่นการให้ 02, ให้ยาขยายหลอดลม, รักษาภาวะแทรกซ้อน, ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity: ROP)
•มีลักษณะสำคัญคือการงอกผิดปกติของเส้นเลือด (neovascularization) บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี้ยงและจอประสาทตาที่ขาดเลือด (หลอดเลือดจอประสาทตาเริ่มสร้างเมื่ออายุครรภ์ 16 สัปดาห์โดยเริ่มต้นที่ทั่วประสาทตา (optic disc) ไปยังบริเวณขอบด้านนอกหลอดเลือดจะเจริญจนถึงด้าน nasal เมื่ออายุครรภ์ 36 สัปดาห์และถึงด้าน temporal เมื่ออายุครรภ์ 40 สัปดาห์)
การป้องกันการเกิด ROP
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ในทารกที่ได้รับออกซิเจนติดตาม 0, saturation ดูแลให้ทารกมีระดับ 0, saturation อยู่ระหว่าง 88-92%
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ Screening ROP
. ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี้ให้ได้รับการรักษาโดยใช้แสงเลเซอร์
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
Sepsis
Early onset Sepsis คือติดเชื้อในระยะก่อนระหว่างการคลอดแสดงอาการภายใน 2-3 วันแรกหลังคลอดภายใน 72 ชั่วโมงแรก
Late onset Sepsis คือติดเชื้อที่แสดงอาการหลังคลอด 72 ชั่วโมงถึง 1 เดือนสาเหตุ-preterm-ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดนานเกิน 18 ชั่วโมง-การคลอดล่าช้า-มารดามีการติดเชื้อน้ำคร่ำมีกลิ่น-เชื้อ Group B streptococci แกรมลบ E.coli Klebsiella))-ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ไข้ตื่นต่อมน้ำเหลืองโตสัมผัสผู้ป่วยติดเชื้อ•ตรวจร่างกาย•ตรวจทางห้องปฏิบัติการ-Culture 24-48 hr. (blood, UA, CSF, Sputum)-CBC, Plt count-ESR ดูการตกของเม็ดเลือดขาวทารกยังไม่เกิน 2 mm / hr-CRP-CXR
•อาการและอาการแสดง:
ในทารกไม่จำเพาะเจาะจง•อาจตรวจพบความผิดปกติในระบบต่างๆ
•การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม Sensitivity •ส่วนมากให้ Ampicillin iy กับ Gentamycin iv •ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็นกลุ่ม Cephalosporins in
การพยาบาล
ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะและสังเกตอาการข้างเคียงของยา
ควบคุมอุณหภูมิกายให้อยู่ในระดับปกติ
ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
แยกทารก
Necrotizing Enterrocolitis ((NEC)
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
สาเหตุ
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์การคลอดก่อนกำหนดการเริ่มรับนมและเพิ่มปริมาณนมเร็วภาวะขาดออกซิเจน
อาการ
•อาการ: เซื่องซึม (lethargy) ดูดนมไม่ดีตัวเหลืองร้องกวนอุณหภูมิกายต่ำหยุดหายใจหัวใจเต้นช้ามีภาวะกรดเกินโซเดียมต่ำและออกซิเจนต่ำ
•อาการเฉพาะ ได้แก่ -ท้องอืด-ถ่ายอุจาระเหลว-อาเจียนเป็นสีน้ำดี-มีเลือดออกในทางเดินอาหาร-มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร-อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
•การวินิจฉัย
-การตรวจเอกซเรย์ช่องท้องเพื่อสังเกตเงาลมแทรกในผนัง
-การตรวจเอกซเรย์ด้านข้าง
-การตรวจช่องท้องด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
-การเพาะตัวอย่างเลือด
•การรักษา-การระงับสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบผ่านการพักการใช้ทางเดินอาหาร (NPO)-ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้างการระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆของร่างกาย-การพยุงระบบไหลเวียนด้วยการให้สารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือด-ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)-การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ได้แก่ สัญญาณชีพปริมาณปัสสาวะการแข็งตัวของเลือดการเปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
•วิธีรักษาภาวะลำไส้เน่าอักเสบโดยการผ่าตัดแบ่งออกได้ 2 วิธี
การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemia
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
•อาการแสดง:
ซึมไม่ดูดนมมีสะดุ้งผวาอาการสั่นซีดหรือเขียวหยุดหายใจตัวอ่อนปวกเปียกอุณหภูมิกายต่ำชักกระตุก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้ จำกัด
การสร้างกลูโคส (glucogenesis) ได้น้อย-มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ขณะคลอดและหลังคลอดเช่นการขาดออกซิเจนอุณหภูมิกายต่ำทำให้มีการใช้น้ำตาลมาก
การดูแล
ทารกที่มีอาการร่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก. / ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด (10% DW)
ทารกไม่มีอาการ-แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมงให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรกคิดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมื้อแรก-ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มกอลให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง-ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 ม.คล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด-ระดับน้ำตาล 25-40 มก. / ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
•อายุ 4-24 ชั่วโมงให้นมทุก 2-3 ชั่วโมงติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
-ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 35 มกคล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
-ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 35 มก. ตล, ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
-ถ้าระดับน้ำตาล 35-45 มก. / ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
• * 10% D / W 2 mg kg และ / หรือ glucose infusion rate (GIR) 5-8 มก / กนาทีโดยให้ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในช่วง 40-50 มก. / ดล.
ในกรณี
•กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำจะต้องตรวจหาระดับน้ำตาลภายใน 1-2 ชม. หลังคลอดและติดตามทุก 1-2 ชม. ใน 6-8 ชม. แรกหรือจนระดับน้ำตาลจะปกติรีบให้ 5,10% D / W ทางปากหรือ NG tube ใน 1-2 มื้อแรกแล้วให้นม
•กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำตรวจติดตามทุก 30 นาที
•ในรายไม่แสดงอาการให้กินนมหรือสารละลายกลูโคสถ้ากินไม่ได้ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำ
•ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
•สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
Meconium aspiration syndrome (IMAS)
•เป็นภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด
•ส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจลำบาก
•พบบ่อยในทารกเกิดครบกำหนดและทารกเกิดเกินกำหนดที่มีภาวะขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์
แบ่งเป็น
•ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อแรกเกิดเรียกว่า vigorous ได้จากการประเมินทารกโดยทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลทารกแรกเกิดเมื่อ 10 ถึง 15 วินาทีหลังเกิดโดยทารกต้องมีอาการดังต่อไปนี้คือ-มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ที่-มีกำลังกล้ามเนื้อดี-อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
•หากทารกแรกเกิดมีความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่งในข้อที่กล่าวมาทารกจะได้รับการประเมินว่าไม่ตื่นตัวเรียกว่า non vigorous
•ทารกที่ไม่ตื่นตัวเมื่อแรกเกิดเสี่ยงต่อการสูดสำลักขี้เทาและมักต้องการการกู้ชีพโดยเฉพาะการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก (positive pressure ventilation; PPV) เพื่อให้มีการหายใจที่เพียงพอต่อการน้ำออกซิเจนและเลือดไปยังอวัยวะที่สำคัญคือหัวใจสมองและต่อมหมวกไต
อาการและอาการแสดง
•อาการรุนแรงน้อยทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้น ๆ เพียง 24-72 ชั่วโมงทำให้แรงดันลดลงและมีค่าความเป็นกรด-ต่างปกติอาการมักหายไปใน 24-72 ชั่วโมง
•อาการรุนแรงปานกลางอาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้นมีการดึงรั้งของช่องซี่โครงและมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
•อาการรุนแรงมากทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันทีหรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
•การวินิจฉัย
อาการแสดง: หายใจลำบากทรวงอกโป่ง (จากการมีลมคั่งไม่สามารถระบายออกได้)
ตรวจร่างกาย: น้ำครำมีตะกอนขี้เทาร่างกายทารกมีขี้เทาติดฟังเสียงปอดไม่ได้ยินเสียงอากาศผ่าน
ภาพถ่ายรังสี: alveolar infiltration hyperaeration atelectasis
ABG: มีภาวะเลือดเป็นกรดมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งมีภาวะพร่องออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
พิจารณาให้ยาตามอาการของทารกเพื่อให้ทารกพักผ่อนลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย (กลุ่ม opioids, กลุ่ม muscle relaxants)
พิจารณาใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอดกรณีมีภาวะความดันในปอดสูง
ให้ยาปฏิชีวนะในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลวเพื่อลดการอักเสบเนื้อเยื่อปอด
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ (ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดและภาวะความดันในปอดสูง)
การพยาบาล
•เป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอเฝ้าระวังการติดเชื้อ
•ดูแลให้ได้รับออกซิเจนติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็วอกปุ่มปีกจมูกบานใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้นเขียว
•วัดความดันโลหิตทุก 2- 4 ชั่วโมงเฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
•รบกวนทารกให้น้อยที่สุด•สังเกตอาการติดเชื้อ
นางสาวอารยา ชูระเชตุ เลขที่ 107 รหัสนักศึกษา 62111301110