Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจคัดกรองโรค - Coggle Diagram
การตรวจคัดกรองโรค
หลักการจัดโปรแกรม
-
- โรคที่จะทาการตรวจค้นหานั้น ควรมีวิธีการรักษามาตรฐานเป็นที่ยอมรับของประชาชน
- อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ช่วยในการตรวจวินิจฉัยและรักษาควรมีไว้ให้พร้อม
-
- ควรมีวิธีการตรวจและทดสอบที่เหมาะสมสาหรับค้นหาผู้ป่วย
- วิธีที่จะนาไปใช้ทดสอบเพื่อค้นหาผู้ป่วยต้องเป็นที่ยอมรับของประชาชน
- ธรรมชาติของโรคที่จะทาการสารวจจะต้องรู้และเข้าใจ
-
- การสารวจค้นหาผู้ป่วยจะต้องทาในลักษณะต่อเนื่อง
-
รูปแบบการตรวจคัดกรองโรค
- การตรวจคัดกรองโรคในประชากรเสี่ยง (Selective screening)
ทาการค้นหาโรคใน ประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูง (High risk population)
1.การตรวจคัดกรองโรคอย่างเดียว (Single screening) เช่น ฉายเอ็กซเรย์ปอดในประชากรที่สูบบุหรี่เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปอด
2.การตรวจคัดกรองโรคหลายอย่าง (Multiphasic sereening) การตรวจสุขภาพหลังเข้าทางานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม
- การตรวจคัดกรองโรคในประชากรทั่วไป (Mass screening)
ทาการค้นหาโรคในประชากรทั่วไป หรือประชากรในชุมชนทั้งหมด
1.การตรวจคัดกรองโรคอย่างเดียว (Single screening) การทาแมมโมกราฟฟี่ Mammography) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านม ในหญิงวัยเจริญพันธุ์
2.2)การตรวจคัดกรองโรคหลายอย่าง (Multiphasic screening) การตรวจเลือดทางชีวเคมี (Biochemical profiles) ในการสารวจอนามัยของชุมชน
ประเมินผลการทดสอบ
การคำนวนค่าดัชนี
1.พวกที่ผลการทดสอบเป็นลบ
พวกลบจริง (True negative) = ผลการทดสอบเป็นลบในบุคคลที่ไม่เป็นโรค
พวกลบเทียม (False negative)
= ผลการทดสอบเป็นลบในบุคคลที่เป็นโรค
2.พวกที่ผลการทดสอบเป็นบวก
พวกบวกจริง (True positive) = ผลการทดสอบเป็นบวกในบุคคลที่เป็นโรค
พวกบวกเทียม (False positive)
= ผลการทดสอบเป็นบวกในบุคคลที่ไม่เป็นโรค
ดัชนีที่ใช้
-
2.ความจำเพาะของการทดสอบ หมายถึง ร้อยละของบุคคลที่
ปราศจากโรคที่ตรวจได้ถูกต้องจากการทดสอบว่าเป็นผลลบ (TN / TN+FP) x 100
- ค่าพยากรณ์บวก หมายถึง ร้อยละของการทดสอบที่ได้
ผลบวกแล้วมีโอกาสเป็นโรค (TP / TP+FP) x 100
- ค่าพยากรณ์ลบ หมายถึง ร้อยละของการทดสอบที่
ได้ผลลบแล้วมีโอกาสไม่เป็นโรค (TN / TN+FN) x 100
- อัตราผลบวกเทียม หมายถึงร้อยละของบุคคลที่ปราศจากโรค
ที่ตรวจได้ผลบวกจากการทดสอบ (FP / FP+TN) x 100
- อัตราผลลบเทียม หมายถึง ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่สามารถ
ตรวจพบจากการทดสอบ (FN / FN+TP) x 100
-