Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะและ การดูแลภาวะสุขภาพของมารดาหลังคลอดปกติ - Coggle Diagram
การประเมินภาวะและ
การดูแลภาวะสุขภาพของมารดาหลังคลอดปกติ
การดูแลความสะอาดและการป้องกันการติดเชื้อ
แผลฝึเย็บ/โพรงมดลูก/ปีกมดลูก
ใช้น้ำเปล่าและสบู่ทำความสะอาด
การเช็ดจากหน้าไปหลัง
ห้ามย้อนศร
ล้างมือให้สะอาด
เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ อย่างน้อยทุก 4ชม.
อาบน้าทุกวัน อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ไม่ควรจะลงแช่น้ำ เช่น แช่อ่างอาบน้ำ
อาการผิดปกติ
ควรมา รพ. ก่อนวันนัด
ไข้
เต้านมแดง/เจ็บ/ตุ่มหนอง
ปวดมดลูกมาก
แผล
บวม/เจ็บตึง/เลือด/หนองไหล
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ปัสสาวะแสบ/ขัด/มีกลิ่น/ขุ่น
อุจจาระลำบาก
นอนไม่หลับ
อาหาร
ดูแลให้มารดาได้รับประทานอาหาร
เพียงพอและมีประโยชน์
อาหารครบทั้ง 5 หมู่ และให้ได้พลังงาน
ประมาณ 2,600-2,800แคลอรี่ต่อวัน
ห้ามยาดองเหล้า อาหารรสจัด
อาหารที่ช่วย
กระตุ้นน้ำนม
ผักรสขม แกงเลียง
การพักผ่อน
ช่วยให้การสร้างน้ำนม
งดการทำงานที่ออกแรงจน
รู้สึกเหนื่อย
ไม่ยกของที่มีน้ำหนักเกิน 5 kg.
ทำงานตามปกติหลังคลอด 3เดือน
การขับถ่าย
ไม่กลั้นปัสสาวะ
การออกกำลังกาย
หลังคลอดภายใน 7 วัน
ใช้ท่าบริหาร
การหายใจ
บริหารช่องอก,กล้ามคอ,
หลัง,ไหล่
บริหารฝีเย็บ ช่องท้อง
และเชิงกราน
ไม่หักโหม
ไม่ยกของที่มีน้ำหนักเกิน 5 kg.
ท่าบริหารร่างกายหลังคลอด
ท่าที่ 1 นอนหงายราบไม่หนุนหมอน
แขนเหยียดตรงตามลำตัว
สูดลมหายใจเข้าเต็มที่
พร้อมทั้งเบ่งท้องให้โป่งตึง
แล้วค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจออก
พร้อมทั้งแขม่วท้องให้ทำซ้ำ 10ครั้ง
ลดหน้าท้อง
ท่าที่ 2 นอนหงายไม่หมุนหมอน
แขนเหยียดตรงตามลำตัว
ยกศีรษะขึ้นให้คางจรดหน้าอก
แล้ววางศีรษะลง ทำ 10 ครั้ง
ท่าที่ 3 นอนหงายราบไม่หนุนหงาย
กางแขนออกให้ตั้งฉากกับลำตัวยกแขนขึ้น
จนฝ่ามือแตะกับแขนเหยียดตรง
พักไว้สักครู่
จึงลดแขนลงไว้ข้างลำตัว ทำ 10 ครั้ง
บริหารทรวงอก
ท่าที่ 4 นอนหงายราบไม่หนุนหมอน
แขนเหยียดตรงลำตัว
งอขาขวาขึ้นให้ส้นเท้าสัมผัสกับก้น
ในขณะที่ขาซ้ายเหยียดตรง
แล้วเหยียดขาขวาลงงอขาซ้ายขึ้น
ทำสลับกันข้างละ 5-10ครั้ง
ช่วยบริหารกล้ามเนื้อสะโพก
และช่วยลดหน้าท้อง
ท่าที่ 5 นอนหงายไม่หนุนหมอน
แขนเหยียดตรงตามลำตัว
กระดกเท้าให้น่องและต้นขาเกร็งสักครู่
กดเท้าลงสักครู่
แล้วผ่อนคลาย ทำ 5-10ครั้ง
ป้องกัน DVT
ท่าที่ 6 นอนหงายไม่หนุนหมอน
ชันขาทั้ง 2 ข้าง ขึ้นให้เข่าชิดกัน เท้าห่างกันพอควร
ยกสะโพกขึ้นเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณรอบ ๆ ช่องคลอด
พักไว้สักครู่แล้วค่อยๆ วางสะโพกลงพร้อมกับค่อยๆ
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่เกร็งไว้ ทา 10 ครั้ง
ช่วยลดอาการบวม
และความไม่สุขสบายบริเวณฝีเย็บ
ท่าที่ 7
นอนคว่ำใช้หมอนรองบริเวณหน้าท้อง
2ใบวางแขนข้างลำตัว หันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง
นอนนานประมาณ 30นาที
ลดอาการปวดมดลูก
ช่วยให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก
การปรับตัวของมารดา
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา
(Taking in Phase)
1-2 วัน เป็นระยะที่มารดาหลังคลอด
มุ่งความสนใจไปที่ตนเอง
ต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง
ความสุขสบายของตนเอง
มากกว่าที่จะนึกถึงบุตร
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา
(Taking Hold Phase)
ใช้เวลาประมาณ 3-10 วัน
ปรับตัวกับชีวิตใหม่
ได้พักผ่อนเพียงพอและฟื้น
พร้อมที่จะปรับวิถีชีวิตของตนเอง
พึ่งพาตนเองมากขึ้น
มีความรับผิดชอบ
ในการดูแลบุตร
Letting go phase
เกิดหลังวันที่ 10
มีปฏิสัมพันธ์กับสังคม
โดยในส่วนลึกของจิตใจยัง
ห่วงใยบุตร
การพยาบาล
ประคับประคองความรู้สึก
ของมารดาให้คำปรึกษา
ช่วยให้มารดารู้สึกปลอดภัย
และอบอุ่นในการเข้าสังคม
แสดงบทบาทมารดาอย่างเหมาะสม
Postpartum blue
3-4 วันแรกหลังคลอด
อาการ
นอนไม่หลับ
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
ปัจจัย
ฮอร์โมนที่ลดต่ำลงมาก
ความไม่สุขสบาย
พักผ่อนไม่เพียงพอ
รู้สึกว่าตนเอง
สูญเสียความสำคัญ
โดยเฉพาะ
สามี
และผู้เกี่ยวข้อง
รู้สึกไม่มั่นใจต่อการปรับตัว
ในบทบาทของการเป็นมารดา
แยกจากครอบครัว
รู้สึกสูญเสียความงาม
การพยาบาล
ให้
ความมั่นใจ
กับมารดาอาการนี้
เป็นภาวะปกติ
พบได้บ่อยและจะ
หายไปได้เอง
ให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ
การดูแลทารก
สามี
และครอบครัวให้กำลังใจ
BONDING &
ATTACHMENT
สร้างความผูกพัน
ระหว่างแม่และลูก
ให้ใกล้ชิดกันมากๆ
การพยาบาลมารดาหลังคลอด
ที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
REACTIONARY FEVER
THIRTY & HUNGRY
นอนพัก น้ำดื่ม
AFTER PAIN
การหดตัวและคลายตัว
ของกล้ามเนื้อมดลูก
บรรเทาอาการปวด
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
คลึงยอดมดลูก
การนอนคว่ำ
รับประทานยาแก้ปวด
แผลฝีเย็บอักเสบ
พบแพทย์เมื่อมีอาการ
การบวมเลือด
(HEMATOMAHEMATOMA)
ปวด บวม แดง ร้อน
การทำ KEGEL'S EXERCISE
หรือการขมิบก้นและช่องคลอด
ท้องผูก
ปัสสาวะลำบาก
กระตุ้นการขับถ่าย
ขมิบก้นและช่องคลอด
ไม่ควรกลั้นอุจจาระ
ไม่ควรเบ่งแรงเวลาถ่าย
รับประทานอาหารที่มีกากใย
เพิ่มมากขึ้น