Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารก แรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง, จัดทำโดย - Coggle Diagram
การพยาบาลทารก
แรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ทารก
คือ
ทารกที่อายุในช่วง 28 วันแรกของชีวิต
จำแนกเป็น
จำแนกตามน้ำหนัก
แรกเกิดมีน้ำหนักปกติ (normal birth weight infant)
น้ำหนักปกติ 2,500 - 4,000 กรัม
แรกเกิดมีน้ำหนักน้อย (low birth weight infant)
มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
จำแนกตามอายุครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
<37week
สาเหตุ
มารดาอายุน้อย
มารดาติดเชื้อในร่างกาย
มารดาดื่มสุราและใช้สารเสพติด
ทารกติดเชื้อ
ทารกโครโมโซมผิดปกติ
ครบกำหนด
37-40week
เกินกำหนด
40week
อุณหภูมิ
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia)
คือ
T < 36.5 องศาเซลเซียส
อาการ
มือเท้าเย็น
ตัวซีด
ดูดนมช้า
น้ำหนักไม่ขึ้น
ภาวะอุณหภูมิสูง (Hyperthermia)
คือ
T > 37.5 องศาเซลเซียส
ติดเชื้อจากการอยู่ในที่ที่ร้อนเกินไป
อาการ
หงุดหงิด
หายใจเร็วและแรง
ผิวหนังอุ่นกว่าปกติ
การดูแล
จัดให้อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.
ระบบไหลเวียนโลหิต
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน (Patent Ductus Arteriosus)
อาการ
หายใจเร็ว
หอบเหนื่อย
ท้องอืด
น้ำหนักไม่ขึ้น
การรักษา
ให้ยาคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
ให้ยายับยั้งการสร้าง (Prostaglandin)
ผ่าตัด PDA Ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
แบ่งเป็น
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นกว่าปกติ
มีการดูดซึมบิลลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน
อาการ
ซึม
ดูดนมน้อยลง
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกาย
พัฒนาการช้า
ชัก มีไข้
การรักษา
การส่องไฟ (Phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (Exchange transfusion)
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา เพื่อป้องกันการระคายเคืองของแสง
เช็ดทำความสะอาดตาของทารกทุกวัน
ระหว่างให้นมเปิดผ้าเปิดตาออกให้ทารกได้สบตามารดา เพื่อเสริมสร้างความรักความผูกพัน
ถอดเสื้อผ้าให้ทารกเพื่อให้ผิวทุกส่วนสัมผัสกับแสงแดด
สังเกตลักษณะอุจจาระหว่างการส่องไฟ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ระบบทางเดินหายใจ
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก (Respiratory Distress Syndrome : RDS)
คือ
พบในทารกคลอดก่อนกำหนด <34-36 wks นน.< 1,500 gm
ปัจจัยเสี่ยง
มาดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
มารดามีภาวะ Hypothermia
สาเหตุ
ขาดสารลดแรงตึงผิวของถุงลม
ปอดพัฒนาไม่เต็มที่
อาการ
หายใจเร็ว > 60 ครั้ง/นาที
เสียงหายจผิดปกติมีการกลั้นหายใจขณะหายใจออก
ซีด ซึม
หน้าอกปุ่ม
ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
กระสับกระส่าย
การรักษา
ให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อให้ความหยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
ภาวะขาดออกซิเจน (Perinatal asphyxia)
สาเหตุ
ปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการคลอด
คลอดติดไหล่
ผิดปกติขิองสายสะดือ
ปัจจัยด้านมารดา
ตกเลือด
อายุมาก
เบาหวาน
ปัจจัยทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกเติบโตช้าในครรภ์
ติดเชื้อในครรภ์
ผลของการขาดออกซิเจน
หัวใจเต้นช้าลง
ขาดออกซิเจน ทำให้หัวใจวาย
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
หายใจช้า หรือหยุดหายใจ
เกิดภาวะปอดคั่งน้ำ
เลือดออกในสมองจากหลอดเลือดของสมองเสียความคงทน
เนื้อไตเกิดเนื้อตายเฉียบพลัน
ปัสสาวะเป็นเลือด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
การรักษา
ให้ความอบอุ่นและควบคุุมอุณภูมิให้ปกติ
ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
ให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือด
ให้เลือด ถ้ามีความเข้มข้นของเลือดต่ำ
ให่ยาปฏิชีวนะ
ภาวะหยุดหายใจ Apnea of prematurity (AOP)
แบ่งเป็น
central apnea
ภาวะหยุด หายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
สาเหตุ
การคลอดก่อนกำหนด
ติดเชื้อ
ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม
ติดเชื้อในระบบบประสาทส่วนกลาง
การดูแล
จัดท่านอนให้เหมาะสม
สังเกตภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ออกซิเจนและดูดเสมหะ
ระวังการสำลัก
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
คือ
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
ปัจจัยเสี่ยง
การคลอดทางช่องคลอด
ภาวะทารกขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์
ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
คือ
โรคที่ต้องการ O2 ความเข้มข้นสูงเกิน 60% และใช้เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 ชั่วโมง
อาการ
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม
O2 ในเลือดต่ำกว่าปกติ
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
คือ
การงอกผิดปกติของเส้นเลือด บริเวณรอยต่อระหวา่ งจอประสาทตาที่มีเลือดไปเล้ียงและจอประสาทตาที่ขาดเลือด
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ screening ROP
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะติดเชื้อ (Sepsis)
แบ่งเป็น
Early onset Sepsis
ติดเชื้อในระยะก่อน/ระหว่างการคลอด
แสดงอาการภายใน 2-3 วัน แรกหลังคลอดภายใน 72 ชั่วโมงแรก
Late onset Sepsis
ติดเชื้อที่แสดงอาการ หลังคลอด 72 ชั่วโมงถึง 1 เดือน
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกาหนดนานเกิน 18 ชั่วโมง
มารดามีการติดเชื้อน้ำคร่ำมีกลิ่น
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
อาการ
ซึม
ร้องนาน
ตัวลายเป็นจ้ำ
หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ท้องอืด อาเจียน
ลั่น ชัก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ให้ Ampicillin iv กับ Gentamycin iv
การพยาบาล
ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
ควบคุมอุณหภูมิกายให้อยู่ในระดับปกติ
ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
ระบบทางเดินอาหาร
ภาวะล้ำไส้เน่าอักเสบ Necrotizing Enterocolitis (NEC)
คือ
ภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือด
มักเกิดบริเวณลาไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ในทารกแรกเกิดที่มีน้าหนักตัวน้อย
สาเหตุ
การใช้ยาของมารดาการตั้งครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยเสี่ยง
มารดาใช้สารเสพติดระหว่างต้ั้งครรภ์
การเติบโตช้าในครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวทารกน้อย
ทารกเกิดภาวะขาดออกซืเจน
ทารกเกิดภาวะเลือดข้น
อาการ
ท้องอืด
ถ่ายเหลว
มีเลือดออกในทางดินอาหาร
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
การรักษา
การระงับสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบ
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง การระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆของร่างกาย
ให้สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดีนโลหิต
Gastroesophageal reflux (GER)
Hypoglycemia
คือ
น้ำตาลในเลือดต่ำ
preterm < 35 mg%
term < 40 mg%
อาการ
ซึม
ไม่ดูดนม
สั่น สะดุ้งผวา
ซีดหรือตัวเขียว
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
ตัวอ่อนปวกเปียก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลููโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
มีภาวะเครียดทั้งขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
การดูแล
ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด(10% D/W)
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
ต้องตรวจหาระดับน้้าตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรกหรือจนระดับน้้าตาลจะปกติ รีบให้5,10 %D/W ทางปาก หรือ NG tube ใน 1-2 มื้อแรก แล้วให้นม
ภาวะการสูดสำลักขี้เทา Meconium aspiration syndrome (MAS)
คือ
ภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาทีมีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด
สาเหตุ
ด้านมารดา
อายุครรภ์ > 42 wks
BP สูงขณะตั้งครรภ์
มารดามีภาวะรกต่ำ
ประวัติใช้สารเสพติด
ด้านทารก
ทารกมีภาวะเครียดจากการขาดออกซิเจน
มีการคลายตัวของหูรูดลำไส้ของทารก
ทารกมีการถ่ายขี้เทาปนในน้ำคร่ำมารดา
อาการ
อาการรุนแรงน้อย หายใจเร็วสั้นๆ เพียง 24-72 ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง หายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น ดึงรั้งของช่องซี่โครง
อาการรุนแรงมาก ระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชม.หลังเกิด
การรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
พิจารณาใช้ยาตามอาการของทารก เพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจน
ให้ยาขยายหลอดเลือดในหอด
ให้ยาปฏิชีวนะในกรณหัวใจล้มเหลว
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
จัดทำโดย
นางสาว สุพัชญา หลอดจำปา เลขที่ 96 ชั้นปีที่ 2 รุ่น 37
รหัสนักศึกษา 62111301099