Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นางสาวน้ำฝน เกิดขาว เลขที่ 37…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ปัญหาที่พบได้ในทารกคลอดก่อนกำหนด
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia
การรักษา
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ ห่างจากหลอดไฟ 35-50 ซม.
ควรเปิดตาทุก 4 ชม.และเปลี่ยนผ้าปิดตาทุก 8-12 ชม.
เช็ดทาความสะอาดตาและตรวจตาของทารกทุกวัน เพราะอาจมีการระคายเคืองจากผ้าปิดตา ทาให้ตาอักเสบ
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การส่องไฟ (phototherapy)
อาการ
อาการระยะยาว
พัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง
มีความผิดปกติของการได้ยินและการเคลื่อนไหวลูกตา
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขา
อาการระยะแรก ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
สาเหตุ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลาไส้มากขึ้นจากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกาจัดได้น้อยลง ได้แก่ การติดเชื้อ
มีการกาจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้าดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กาเนิด
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลาไส้มากขึ้น จากภาวะต่างๆ เช่น ภาวะลาไส้อุดตัน
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทาลายเม็ดเลือดแดง
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice) เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติและเหลืองเร็วภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด เกิดได้จากหลายสาเหตุ
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)เกิดจากมีการสร้างบิลิรูบินมากเพราะเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าและความไม่สมบูรณ์ในการทางานของตับจึงทาให้กระบวนการในการขับบิริลูบินออกทาได้ช้าพบในช่วงวันที่ 2 - 4 วันหลังคลอด และหายไปเองใน 1 - 2 สัปดาห์
เกิดจากบิลลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
การรักษา
การรักษาจำเพาะ
การรักษาทั่วไป ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
อาการและอาการแสดง
•หายใจเร็ว
•หอบเหนื่อย
•รับนมได้น้อย
•ท้องอืด(เลือดไหลลัดไปปอด ทาให้เลือดไปเลี้ยงลาไส้ลดลง)
•น้าหนักไม่ขึ้น
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ส่งผลให้
Foramen ovale ปิดสมบูรณ์
Ductus arteriosus จะหดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น
Ductus venosus ปิดเมื่อสายสะดือถูกตัดกลายเป็นเอ็นที่ตับ(ligamentum venosum)
Fetal circulation เป็น Neonatal circulation
การหายใจของทารกแรกเกิดเปลี่ยนจาก รกเป็นปอด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การดูแล
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ปรับอุณหภูมิห้องให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม (25-26 องศาเซลเซียส)
ระวัง “Cold stress”
keep warm (warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว)
วัดอุณหภูมิ Body temperature ทารก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรก
คือ มือเท้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัวซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลง หรือไม่ดูดนม อาเจียน ท้องอืด น้าหนักไม่ขึ้น หรือน้าหนักลด จะหงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น มีการเคลื่อนไหวลดลง หายใจเร็วและแรง หรือหยุดหายใจ ซึม สัมผัสผิวหนังพบว่าอุ่นกว่าปกติ
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกาหนด วัดนาน 8 นาที
ทารกเกิดก่อนกาหนด วัดนาน 5 นาที
ทางทวารหนัก
ทารกครบกาหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทารกเกิดก่อนกาหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
การวัดอุณหภูมิทารก
การสูญเสียความร้อนในทารก
การระเหย (evaporation) การสูญเสียความร้อน เมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้า
การแผ่รังสี (radiation) การสูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่า แต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
การพา (convection) เป็นการพาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อมที่เย็นกว่า
การนำ (conduction) เกิดจากผิวของทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
RDS (Respiratory Distress Syndrome)
คือภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก พบได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกาหนดที่ GA<34-36 wks น้าหนักตัว < 1,500 gm. อายุครรภ์ต่ากว่า 28 wks น้าหนัก <1,000 gm. มีโอกาสเกิดได้ใน 60-80%
สาเหตุ
•เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
•โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
•ซึ่งสาร surfactant ทาหน้าที่ให้ถุงลมคงรูปไม่แฟบขณะหายใจออกสร้างจาก aveolar call type II ที่ผนังถุงลมเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 22-24wks และสร้างมากขึ้นจนเพียงพอหลัง 35 wks
การรักษา
การให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก เช่น การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้นและอัตราไหลของออกซิเจน ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน เช่น ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง (BPD) ภาวะจอประสาทตาพิการจากการเกิดก่อนกาหนด (ROP)
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทาให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลาบาก
Perinatal asphyxia
เป็นภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด ได้แก่ ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกรานมารดาคลอดติดไหล่ ความผิดปกติของสายสะดือ ครรภ์แฝด ทารกท่าผิดปกติ การคลอดโดยใช้หัตถการการคลอดที่ทายากลาบาก
ปัจจัยทางด้านมารดา ได้แก่ ตกเลือด อายุมาก เบาหวาน รกเกาะต่า รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะพิษแห่งครรภ์ ความดันเลือดต่า ครรภ์เกินกาหนด ซีดมาก ได้รับยาแก้ปวด
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก ได้แก่ ทารกคลอดก่อนกาหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ภาวะติดเชื้อในครรภ์ ความพิการโดยกำเนิด
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
คือภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
ความรุนแรงของ IVH แบ่งออกเป็น 4ระดับ
grade 1 : มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองปกติ
grade 3: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade4: มีเลือดออกในโพรง สมองร่วมกับเลือดออกในเนื้อสมอง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
เป็นโรคปอดเรื้อรังมีการทาลายของทางเดินหายใจขนาดเล็กพบในทารกคลอดก่อนกาหนดที่เป็น RDS หรือโรคที่ต้องการ O2 ความเข้มข้นสูงเกิน 60% และใช้เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 ชั่วโมง
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม (intercostal retraction)
O2ในเลือดต่ากว่าปกติ
CO2ในเลือดคั่ง
ความดันในปอดสูง(pulmonary hypertension) ในรายที่รุนแรง
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ เช่น การให้ o2, ให้ยาขยายหลอดลม,รักษาภาวะแทรกซ้อน, ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
เป็นความผิดปกติ ในทารกในทารกคลอดก่อนกาหนดที่มีน้าหนักน้อย มีลักษณะสาคัญ คือ การงอกผิดปกติของเส้นเลือด
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จาเป็น
ในทารกที่ได้รับออกซิเจน ติดตาม O2 saturation
ดูแลให้ทารกมีระดับ O2 saturation อยู่ระหว่าง 88-92 %
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ screening ROP
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี้ให้ได้รับการรักษาโดย ใช้แสงเลเซอร์
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์ ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
เม็ดเลือดขาวมีน้อย จึงทาหน้าที่ในการกาจัดเชื้อโรค (phagocytosis) ไม่สมบูรณ์
ผิวหนังเปราะบาง epidermis และ dermis ยึดกันอย่างหลวมๆ
จึงถูกทาลายได้ง่าย
Sepsis
สาเหตุ
preterm
ถุงน้าคร่าแตกก่อนกาหนดนานเกิน 18 ชั่วโมง
การคลอดล่าช้า
มารดามีการติดเชื้อ น้าคร่ามีกลิ่น
เชื้อ Group B streptococci แกรมลบ E.coli Klebsiella)
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
อาการและอาการแสดง
ซึม
ร้องนาน
-ไม่ดูดนม
-ซีด
ตัวลายเป็นจ้า (motting)
ผิวหนังเย็น
หายใจเร็ว หายใจลาบาก
ท้องอืด อาเจียน
สั่น ชัก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ส่วนมากให้ Ampicillin iv กับ Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็น กลุ่ม Cephalosporins iv
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
คือภาวะลาไส้เน่าอักเสบ เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือดมักเกิดบริเวณลาไส้เล็ก และลาไส้ใหญ่ในทารกแรกเกิดที่มีน้าหนักตัวน้อย
สาเหตุ
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์ การคลอดก่อนกาหนด การเริ่มรับนมและเพิ่มปริมาณนมเร็ว ภาวะขาดออกซิเจน
อาการ
เซื่องซึม (lethargy) ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้องกวน
อุณหภูมิกายต่า หยุดหายใจ หัวใจเต้นช้า มีภาวะกรดเกิน โซเดียมต่าและออกซิเจนต่า
การรักษา
การระงับสิ่งกระตุ้นทาให้เกิดการอักเสบ ผ่านการพักการใช้ทางเดินอาหาร (NPO)
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง การระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆ ของร่างกาย
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารน้า สารอาหารทางหลอดเลือด
-ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ได้แก่ สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ การแข็งตัวของเลือด การ เปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
Hypoglycemia
หมายถึง
ระดับน้าตาลในเลือดต่ากว่า 40 mg% (term)
ระดับน้าตาลในเลือดต่ากว่า 35 mg% (preterm)
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่า ชักกระตุก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จากัด
การสร้างกลูโคส (glucogenesis) ได้น้อย
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด เช่น การขาดออกซิเจนอุณหภูมิกายต่าทาให้มีการใช้น้าตาลมาก
การดูแล
ทารกที่มีอาการร่วมกับระดับน้าตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด(10% D/W)
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้าตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมื้อแรก
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
Meconium aspiration syndrome (MAS)
เป็นภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสาลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้าคร่าเข้าไปในหลอดลมหรือปอดส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจลาบาก
พบบ่อยในทารกเกิดครบกาหนดและทารกเกิดเกินกาหนดที่มีภาวะขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
อายุครรภ์มากกว่า 42 wks ส่งผลให้รกเสื่อมสภาพ
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ผ่านรกมายังทารกน้อยลง
มารดามีภาวะรกเกาะต่าหรือรกลอกตัวก่อนกาหนด
มารดามีภาวะน้าคร่าน้อยกว่าปกติ ทารกเคลื่อนไหวไม่สะดวก เกิดสายสะดือถูกกด
มีภาวะถุงน้าคร่าอักเสบ น้าคร่ารั่วนานกว่า 18 ชม.
ประวัติใช้สารเสพติด ส่งผลให้มีการหดรัดตัวของมดลูก
ปัจจัยด้านทารก
เมื่อทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน ร่างกายของทารกจะมีการปรับตัว เพื่อหาแหล่งของออกซิเจนมาใช้ แต่เมื่อรับออกซิเจนจากสายสะดือไม่ได้ ทารกจะเกิดภาวะเครียดมีการคลายตัวของหูรูดลาไส้ของทารกทารกมีการถ่ายขี้เทาปนในน้าคร่ามารดา
อาการและอาการแสดง
:อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง 24-72 ชั่วโมง ทาให้แรงดันลดลง และมีค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ อาการมักหายไปใน 24-72 ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การพยาบาล
เป้าหมายที่สาคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่าจาก PPHN
การส่งเสริมสัมพันธภาพ
บทบาทที่สาคัญของพยาบาล
กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกหลังคลอดให้เร็วที่สุด (ถ้ามารดาไม่มีข้อจากัด)
เมื่อบิดามารดาเข้าเยี่ยมทารก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย การรักษา พยาบาลที่ทารกได้รับในขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลที่จะทาได้
สอนให้มารดาทราบ ถึงพฤติกรรมหรือสื่อสัญญาณของทารก กระตุ้นให้บิดามารดาอุ้มกอด หรือสัมผัสทารก ไม่บังคับหรือตาหนิถ้ามารดายังไม่พร้อมที่จะทา
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา น้านมของมารดาที่คลอดก่อนกาหนดเหมาะสมกับทารกที่เกิดก่อนกาหนดเพราะมีโปรตีนสูงกว่า การให้นมมารดาควรให้นมที่บีบออกมาภายหลัง(Hind milk) เพราะมีไขมันซึ่งให้พลังงานสูงกว่านมที่บีบออกมาช่วงแรก (Fore milk)
นางสาวน้ำฝน เกิดขาว เลขที่ 37 รุ่นที่ 37 รหัส 62111301039