Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypersensitivityภาวะภูมิไวเกิน - Coggle Diagram
Hypersensitivityภาวะภูมิไวเกิน
ประเภทของภาวะภูมิไวเกิน
แบ่งเป็น4 typeแบ่งตามพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อดังต่อไปนี้
Type I Immediate Allergy or Anaphylaxis
การแพ้ยาชนิดนี้เกิดจากการที่ผู้ป่วยเคยได้รับยาดังกล่าวมาก่อนทำให้มีการสร้าง IgE ที่จำเพาะต่อยานั้นๆไปจับแน่นอยู่บนผิวของ mast cell และเมื่อผู้ป่วยได้รับยาชนิดเดิมซ้ำตัวยาจะไปจับกับ IgE ที่จำเพาะต่อยาบนผิวของ mast cell ส่งผลให้ mast cell แตกตัว (degranulation) และมีการหลั่ง mediators ทำให้เกิดอาการต่างๆ เช่น urticaria, angioedema, anaphylaxis ซึ่งอาการจะมักเกิดภายใน 1 ชั่วโมงหลังได้รับยา
Type II Antibody dependence or Cytotoxic
เกิดจากยาจับกับโปรตีนบนผิวเซลล์เกิดเป็น antigen ใหม่ ทำให้มีการสร้าง IgG หรือ IgM ที่มีความจำเพาะมาจับ หลังจากนั้นจะมีการกระตุ้นผ่านระบบ complement ทำให้เกิดการทำลายเซลล์นั้นๆ เช่น การเกิด immune hemolytic anemia หลังได้รับยา penicillin หรือการเกิด immune thrombocytopenia หลังได้รับยา quinidine การแพ้ยาชนิดนี้มักเกิดอาการหลังได้รับยามากกว่า 72 ชั่วโมง
Type III Immune complex
เกิดจากยาจับกับ IgG หรือ IgM ในร่างกายเกิดเป็น immune complex ไปเกาะที่ endothelial cell ของหลอดเลือด ทำให้เกิดกระบวนการ complement activation ทำลาย capillary endothelium เช่น การเกิด serum sickness หลังได้รับ anti-thymocyte globulin การแพ้ยาชนิดนี้มักเกิดอาการหลังได้รับยาประมาณ 10-21 วัน
Type IV Cell-mediated or delayed
กิดจากการกระตุ้นให้มีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันแบบอาศัย T lymphocyte ทำให้มีการหลั่ง cytokines เพื่อเรียก effector cell ชนิดต่างๆ โดยสามารถแบ่งย่อยออกได้เป็น 4 subtypes (IVa-IVd)
การวินิจฉัย
การทดสอบทางผิวหนัง (skin test)
Radioallergosorbent test (RAST)
Fluoroenzyme immunoassay test (Immuno CAP FEIA)ซึ่งเป็นการหาระดับIgE ที่จำเพาะต่อสารก่อภูมิแพ้
Pulmonary function test เพื่อวินิจฉัยโรคหอบหืด
การตรวจเลือดหาระดับ IgE เลือด (blood essay)
การรักษา
หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้
พิสูจน์สารก่อภูมิแพ้ ประวัติการเป็นภูมิแพ้ ภูมิแพ้ในครอบครัว ระยะเวลาที่เป็นในรอบปี สิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย
การควบคุมสิ่งแวดล้อม
การรักษาด้วยยา Diphenhydramine (Benadryl) Centrizine (Zyrtec),Loratadine (Claritine),pseudoephidrine,phenylepidrine,
Cortocosteroids, Inhale steroid , Albuterol (Ventolin), Salmeterol
(Serevent)
การพยาบาล
ก่อนให้ยาบำบัด
1.ซักประวัติการเกิดภาวะ Hypersensitivity ในการให้ยารอบที่ผ่านมา
2.ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับอาการ Hypersensitivity เช่น หน้าแดง แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก
3.เตรียมยาและอุปกรณ์ต่างๆเช่นอุปกรณ์ให้ออกซิเจน
4.ตรวจวัดสัญญาณชีพเพื่อประเมินอาการก่อนและหลังให้ยาเคมีบำบัด
ขณะให้ยาบำบัด
1.บริหารยาเคมีบำบัดโดยการใช้ Infusion pump โดยค่อยๆปรับ drop ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.อยู่กับผู้ป่วยในการบริหารยาเคมีบำบัดประมาณ 10-15 นาทีแรกเพื่อการช่วยเหลือได้ทัน
3.ให้ออกซิเจน
4.ประเมินสภาพอย่างรวดเร็วและรายงานแพทย์
หมายถึงการตอบสนองต่อภูมิคุ้มกันต่อสารก่อภูมิแพ้(Allergen)หรือ Antigen อยางรุนแรง
เยื่อบุจมูกอักเสบ (Allergic rhinitis)
หอบหืด (Asthma)
ผิวหนังอักเสบ (Dermatitis)
ความผิดปกติจากการแพ้
แพ้อาหาร
โรคผิวหนังชนิดตุ่มแดงคัน
อาการคัน (Urticaria)
Allergic Rhinitis
Anaphylaxis
กระบวนการเกิด
การถูกกระตุ้นด้วยสารที่ไปสัมผัส (Sensitization)เกิดIgE antibody
การแสดงอาการที่สัมพันธ์กบการได้รับสารก่อภูมิแพ้ (Allergen)
จาม (sneezing)
หอบ (asthma)
แอนาไฟแลกซิส (anaphylaxis)