Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 มาตราฐานการศึกษา : ระบบการวัดผลแบบ OKRs 2, Student activity when…
บทที่ 5
มาตราฐานการศึกษา : ระบบการวัดผลแบบ OKRs 2
ขั้นตอนหลักนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
เริ่มต้นออกแบบ OKRs
สื่อสารให้ทุกคนเข้าใจวิธีการนำเอา OKRs ไปใช้
การทำความเข้าใจในแนวคิดของ OKRs
การนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
การนำ OKRs ไปใช้ในโรงเรียน
เปิดภาคเรียน
ดำเนินการนำ OKRs ไปใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผู้สอน นำเสนอความก้าวหน้าผลการดำเนินการตามวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ อย่างน้อย 1 ครั้ง ในช่วงกลางภาคเรียนให้ผู้บริหารทราบ
ช่วงปลายภาคเรียน ผู้บริหาร ติดตามการนำ OKRs ไปใช้เพื่อให้เกิดการปรับปรุง และพัฒนา
ปิดภาคเรียน
ผุ้บริหารรายงานผลความสำเร็จของการใช้ OKRs และเตรียมพร้อมที่จะกำหนด OKRs ในภาคเรียนถัดไป
ก่อนเปิดภาคเรียน
ผู้บริหารนำเสนอ OKRs ของตนเองในภาพรวมให้ผู้สอนและเจ้าหน้าที่
ผู้สอนและเจ้าหน้าที่ นำเสนอ OKRs ของตนเองเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกับOKRs หลักที่ผู้บริหารกำหนด
ผู้บริหารออกแบบ OKRs ของโรงเรียน และทบทวนปรับแก้ ให้สมบูรณ์
ปัญหาที่เกิดจากใช้ OKRs
ในสถานศึกษา
นำงานประจำทั่วไปที่ไม่สำคัญมาตั้งเป็นวัตถุประสงค์
การตั้งวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์กร
1.การตั้งเป้าหมายใน OKRs ไม่ท้าทาย
การตั้งผลลัพธ์หลักจำนวนไม่เหมาะสมมากหรือน้อยไปและไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
หลักการสำคัญในการใช้ OKRs
F : Feedback
หรือ การให้ข้อมูลย้อนกลับ
R : Recognition
หรือ การให้การยอมรับ
C : Conversation
หรือ การสนทนา
บทสรุปของ OKRs
ปรับแต่งและเชื่อมโยงการทำงานเป็นทีม
ผลลัพพ์สำคัญจะถูกกำหนดจากหน่วยงาน / ฝ่าย
สนับสนุนสัดส่วนที่เหมาะสม
นำเสนอ เพื่ออธิบายว่า เพราะอะไร OKRs ตัวนี้สำคัญต่อองค์กร
กำหนดรูปแบบการทำงานร่วมกัน
สร้างแรงบันดาลใจให้กับบุคลากรในองค์กร
ติดตามผลเพื่อแสดงความรับผิดชอบ
เน้นความภาคภูมิใจ ความสำเร็จของผลงานที่วัดและจับต้องได้
กำหนดผู้รับผิดชอบที่มีหน้าที่ติดตาม ความก้าวหน้าข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ช่วยจัดการ แก้ไขปัญหา
สร้างวัฒนธรรมความรับผิดชอบต่อผลงานโดยกำหนดแนวทางของระบบการประเมินผลที่ต่อเนื่อง
ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม แม้ว่าอยู่ระหว่างการดำเนินการ
ให้บรรลุผลสำเร็จ และประเมินผลงาน
1.โฟกัสและจัดลำดับความสำคัญ
เลือกวัตถุประสงค์หลักเพียง 3-5 ข้อ
เน้นการกำหนดวัตถุประสงค์ระดับฝ่ายงาน เพื่อช่วยขับเคลื่อนเป้าหมายให้บรรลุ
กำหนดช่วงเวลาดำเนินการ OKRs สามารถติดตามได้ทั้งรายไตรมาส (เป้าหมายระยะสั้น) และรายปี (เป้าหมายระยะยาว)
ตัวชี้วัดผลงานไม่เกิน 55ข้อ /วัตถุประสงค์ ไม่คลุมเครือ
มีกำหนดกรอบของเวลาของผลงาน
กำหนดผลลัพธ์ที่สำคัญทั้งเชิงคุณภาพและ ปริมาณควบคู่กันไป
เป้าหมายที่ท้าทาย
เพื่อผลงานที่แปลกใหม่
การตั้งเป้าหมายที่ท้าทายกระตุ้นให้เกิดการสร้างความสำเร็จ
แต่ไม่สูงเกินไปจนทำไม่ได้
เน้นการเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไปเพื่อให้ได้ผลงานหรือนวัตกรรมอย่างมีคุณภาพ
สร้างความแตกต่างระหว่างเป้าหมายที่ต้องทำและที่อยากทำ
การออกแบบ OKRs เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับระบบ
การบริหารงานแต่ละช่วงเวลา (รายไตรมาส)
ข้อจำกัด
ไม่สามารถกำหนด OKRs ได้ ว่าต้องทำ หรืออยากทำแตกต่างกัน
ขาดความเชื่อมั่นในการกำหนด
กำหนดผลลัพธ์ที่สาคัญไม่เพียงพอต่อการบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์
ข้อเสนอแนะ
Doable in 3 months: ทำได้ใน33เดือน
Controllable by the team: อยู่ภายใต้การควบคุมของเรา
Attainable: สามารถบรรลุได้
Provide organization value: สร้างคุณค่าให้องค์กร
Inspirational : เกิดแรงบันดาลใจ
Qualitative: กำหนดเป้าเชิงคุณภาพ
OKRs กับการประกัน
คุณภาพการศึกษา
ระบบที่เรียกว่า Tailored Made มีความยืดหยุ่นและปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์หาจุดอ่อน จุดแข็งขององค์กร นำไปสู่การพัฒนา
เป็นเครื่องมือทางของสถานศึกษา ติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมาย
ปัญหาการประกันคุณภาพ
ตัวชี้วัดไม่เหมาะสมกับลักษณะของโรงเรียน (one size first all)
เน้นหลักฐานเอกสารมากเกินไปกลายเป็นการตรวจเอกสารมากกว่าประกันคุณภาพ
ใช้เวลามากทำให้ผู้สอนไม่มีเวลาในการจัดเตรียมเอกสารการสอน
ผู้ประเมินไม่เข้าใจบริบทของแต่ละโรงเรียนทาให้ผลการประเมินไม่ถูกต้องและไม่มีการนำผลการประเมินไปใช้
ประโยชน์
ต่อสถานศึกษา
การสร้าง OKRs ระดับสถานศึกษาระดับฝ่ายงานและระดับผู้สอนปรับให้เข้ากับบริบทของแต่ละโรงเรียน
ต่อภาครัฐ
ให้สอดคล้องกับนโยบายและโครงการของกระทรวงหรือหน่วยงานและเหมาะสมกับแต่ละบริบทของโรงเรียน