Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นางศิริธร ยุทธพงษ์ธาดา เลขที่ 82 รหัส…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยงสูง
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดครบกาหนด (TermTerm or mature infant ) คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดหลังกาหนด (Posterm Posterm infant ) ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกเกิดก่อนกาหนด (Preterm Preterm infant ) คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
การจำแนกตามน้ำหนัก
Low birth weight infant (LBW infant)
Very low birth weight คือ น้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
low birth weight (ELBW) คือน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
Normal birth weight infant (NBW infant)
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ3,800 – 4,000 กรัม
Neonatal period เป็นทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome(RDS)
การป้องกัน
มารดาที่มีความเสี่ยงจะคลอดก่อนกาหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
Betamethazone Betamethazone Betamethazone 12 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 24ชั่วโมงจนครบ 2ครั้ง
Dexamethazone Dexamethazone 6มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 12ชั่วโมงจนครบ 4ครั้ง
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทาให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลาบาก
4รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
ภาวะหายใจลาบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ของถุงลม
อาการและอาการแสดง
อาการเขียว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่ามีภาวะเลือดเป็นกรด
มีอาการหายใจลาบาก (Dyspnea) หายใจเร็วกว่า 60 ครั้ง/ นาที
อาจมีอันตรายจากการหายใจล้มเหลวได้ภายใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด
ภาพถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
Perinatal asphyxia
No asphyxia คะแนน แอพการ์8 –10
Mild asphyxia คะแนนแอพการ์5 – 7
Moderate asphyxia คะแนนแอพการ์3-4
Severe asphyxia คะแนนแอพการ์0-2
apnea of prematurity
obstruction apnea ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม
central apnea ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม (chest wall r chest wall retraction etraction ) ,
suction เมื่อจำเป็น
ระวัง การสำลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
Retinopathy of Prematurity(ROP)
การงอกผิดปกติของเส้นเลือด (neovascularization) บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี ยงและจอประสาทตา ที่ขาดเลือด
ระยะเวลาการตรวจหาROP
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4– 6สัปดาห์ หรือเมื่อทารกอายุครรภ์รวมอายุหลังเกิด 32สัปดาห์
ถ้าไม่พบการดำเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4สัปดาห์
ถ้าพบว่ามีการดำเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์หรือตามแผนการติดตามประเมินของแพทย์
หลังจากทารกกลับบ้านแล้วถ้าไม่มีการดำเนินของโรค นัดมาตรวจซ้ำ
ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ้ำทุก ๆ 1 – 2สัปดาห์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกคลอดเมื่ออายุครรภ์ < 37 สัปดาห์
สาเหตุ /ปัจจัยส่งเสริม
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
มารดามีภาวะแทรกซ้อน
เศรษฐานะไม่ดี
อายุน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ลักษณะ
น้ำหนักน้อย รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous Subcutaneous fat ) น้อย
หายใจไม่สม่าเสมอ มีการกลั นหายใจเป็นระยะ (Periodic Periodic breathing breathing ) เขียว และหยุดหายใจได้ง่าย (Apnea Apnea)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี ทารกมักจะเหยียดแขนและขาขณะนอนหงาย
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกาหนด Reflex Reflex ต่าง ๆ มีน้อยหรือไม่มี
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่อง เพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก ในเพศชายลูกอัณฑะยังไม่ลงในถุงอัณฑะ
ปัญหา
การควบคุมอุณหภูมิ
อาการและอาการแสดง ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคลา หยุดหายใจ หายใจลาบาก ปลายมือ ปลายเท้าเย็น
ภาวะแทรกซ้อน นาตาลในเลือดต่า ภาวะเลือดเป็นกรด ความต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้นน้ำหนักไม่ขึ น ท้องอืด เลือดออกใน โพรงสมอง เลือดออกในปอด ไตวาย DIC และ PPHN
Hypothermia อุณหภูมิ < 36.5 องศาเซลเซียส
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกาหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม
ทารกครบกาหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกาหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกาหนด วัดนาน 8 นาที
การดูแล
ใช้ warmer , incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE ) 32-34องศาเซลเซียส
วัดอุณภูมิเด็ก Body Bodytemperature temperature เด็ก 36.8 -37.2 องศาเซลเซียส
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์พัดลม ระวัง “Cold Coldstress ”
ปัญหาการติดเชื้อ
Necrotizing Enterocolitis
การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ เฝ้าระวังภาวะลำไส้ทะลุ
Sepsis
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
2.ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก4 ทาง
3.ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก4 ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
1.ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จาเป็นให้การพยาบาลโดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
4.เช็ดทาความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิทารกที่อยู่ใน Incubator
เป้าหมายให้อุณหภูมิกายทารกอยู่ในเกณฑ์ปรกติคือ 37 C (+/ C (+/-0.2 C)
กรณีไม่ได้ใช้ตู้อบผนัง2 ชั้น
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้36.8o C -37.2 oC เป็นเวลา2ครั งติดกันให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral thermal environment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15 -30 นาทีอีก 2 ครั งและต่อไปทุก 4ชม.
ควรใส่ปรอทสาหรับวัดอุณหภูมิตู้อบ
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ หรือ ปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่36 C
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ นครั งละ 0.2C ทุก 15 – 30 นาที
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ Skin Servocontrol mode
ติด Skin probe บริเวณหน้าท้อง
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่36.5C
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ นครั งละ 0.1 C ทุก 15 – 30 นาที
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้36.8 C -37.2 C เป็นเวลา2ครั้งติดกัน ให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral thermal environment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15-30นาทีอีก 2ครั งและต่อไปทุก 4ชม.
ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
Neonatal Jaundiceหรือ Hyperbilirubinemia
Anemia
PDA (Patent Ductus Ateriosus)
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
IVH (Intra -ventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
Hypoglycemia
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
GER (Gastroesophageal Reflux)
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
gavage feeding(OG tube ) ในเด็กเหนื่อยง่าย ดูด กลืนไม่ดี
IVF ให้ได้ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะ NEC : observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน้าหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15 -30 กรัม)
ปัญหาพัฒนาการล้าช้า
ส่งเสริมสายสัมพันธ์พ่อแม่ลูก
Eye to eye contact
skin to skin contact
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice )
การทางานของตับจึงทาให้กระบวนการในการขับบิริลูบินออกยังทาได้ช้า พบในช่วงวันที่ 2 – 4 หลังคลอด หายไปเองใน 1 – 2 สัปดาห์
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice )
ภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติ และเหลืองเร็ว ภายใน 24ชั่วโมงแรกหลังเกิด
สาเหตุ
มีการกาจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อนาดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กาเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ น ร่วมกับการกาจัดได้น้อยลง ได้แก่ การติดเชื้อ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลาไส้มากขึ น จากภาวะต่างๆเช่น ภาวะลาไส้อุดตัน
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลาไส้มากขึ้น จากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
1.มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทาลายเม็ดเลือดแดง
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การส่องไฟ (phototherapy)
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
น้ำตาลในเลือดต่ำหมายถึงระดับ น้ำตาลในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg%
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด รวมทั้งการสร้างกลูโคส (glucogenesis ) เองที่ตับก็ทำได้น้อย
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40มก./ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ทารกไม่มีอาการ
MAS
กลไกของร่างกายทารกในครรภ์จะ ป้องกันไม่ให้เกิดการถ่ายขี เทาออกมาปนในนาคร่าขณะ ที่ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดา การถ่ายขี้เทาออกมาปนใน นาคร่าขณะที่ทารกอยู่ในครรภ์
1) ลักษณะทางพยาธิสรีรวิทยาปกติที่เกิดจาก การเคลื่อนตัวของลาไส้ที่พัฒนาสมบูรณ์แล้วของทารก ในครรภ์
2)ความผิดปกตินั้นเช่นภาวะรกทางานผิดปกติ(placental insufficiency)ภาวะนาคร่าน้อย(oligohydramnios ) ภาวะติดเชื้อในครรภ์( intra-amniotic infection) โรคในมารดาที่เกิดจากการตั้งครรภ์
ความรุนแรง
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง24-72ชั่วโมง ทำให้แรงดันลดลง และมีค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ อาการมักหายไปใน 24-72ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24ชั่วโม
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
วัดความดันโลหิตทุก2-4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลตามอาการ
นางศิริธร ยุทธพงษ์ธาดา เลขที่ 82 รหัส 62111301085