Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
วิธีการให้นมบุตร
ล้างมือด้วยน้ำสะอาด
ทำความสะอาด เต้านม หัวนม
นั่งหรือนอนในท่าสบาย
หมอนช่วยวางรองตัวเด็ก
ให้ลูกอมหัวนมลึกๆถึง Areola
กระตุ้นการหลั่ง
Prolactin และ
Oxytocin
สร้างและขับน้ำนม
ให้ลูกดูดบ่อยๆ
อย่างน้อย ทุก 2 -3 ชั่วโมง
กระตุ้นการหลั่งน้ำนม
ให้ลูกดูดทั้งสองข้าง
เมื่อลูกอิ่มแล้ว
แม่ใช้นิ้วกดคางเบาๆ
หรือเขี่ยข้างมุมปาก
ให้ทารกอ้าปากออกจากหัวนม
เพื่อป้องกันหัวนมถลอก
จับเด็กให้นั่งหรืออุ้มพาดบ่า
ลูบหลังให้เรอ
ป้องกันท้องอืดและสำรอก
ข้อดีของน้ำนม
สารอาหารครบถ้วน
สูง
Protein
Vitamin
Immunoglobulin A ( IgA )
ประหยัด
สะดวก สะอาด และปลอดภัย
มีภูมิต้านทานต่อโรคติดเชื้อ
ด้านจิตใจ
สร้าง Bonding Attachment
อาการที่แสดงว่าลูกได้รับน้ำนมแม่เพียงพอ ในสัปดาห์แรกๆหลังคลอด
ลูกอุจจาระ 4-8 ครั้ง
ใน 24 ชั่วโมง
ลูกปัสสาวะ 6 ครั้ง ขึ้นไป
ใน 24 ชั่วโมง
ลูกสงบสบาย
พักได้ไม่ร้องหิวระหว่างมื้อนม
น้ำหนักลูกขึ้น
โดยเฉลี่ย 18-30 กรัมต่อวัน
ได้ยินเสียงกลืน
น้ำนมของลูก
เต้านมแม่ตึงก่อนให้นมและ
นิ่มลงหลังให้นมแม่แล้ว
มีน้ำนมไหล (Let down sensatio)
Breast feeding
Warning Signs
หลังเกิด 3 วัน ปัสสาวะน้อยกว่า 6 ครั้ง/วัน
หลังเกิดวันที่ 3 อุจจาระยังเป็นขี้เทาอยู่
หลังเกิดวันที่ 4 ถ่ายอุจจาระสีเหลือง น้อยกว่า 3-4 ครั้ง/วัน
ดูดนมแม่น้อยกว่า 8 ครั้ง/วัน
เด็กหิวตลอด ร้องกวน ไม่พัก
กระวนกระวาย
เด็กหลับนานระหว่างมื้อนม
หลับนานเกิน 4-6 ชั่วโมง
แม่มีน้ำนม แต่ขณะลูกดูดนม
ไม่ได้ยินเสียงหรือไม่เห็นการกลืนผ่านลำคอ
เจ็บหัวนมขณะให้ลูกดูดนม
แม่มีนมคัดแข็ง หลังให้นมแม่ เต้านมไม่แฟบลง
Breast Holding Technique
ปัญหาที่พบบ่อย
และวิธีการแก้ไข
น้ำนมมารดามีน้อย
น้ำนมไม่พอ
ในระยะ30นาทีแรกหลังคลอด
ควรนำทารกไปดูดนมมารดาเร็วที่สุด
จัดให้มารดาและทารกอยู่ด้วยกัน (Rooming in)
และดูแลให้มารดาให้นมทารกทุกครั้ง
ที่ทารกต้องการอย่างสม่ำเสมอ
แนะนำให้มารดาให้นมบุตรเพียงอย่างเดียว
โดยไม่ให้น้ำหรือนมผสมเพิ่ม
ดูแลได้พักผ่อนเต็มที่ขณะที่ทารกหลับ
ดูแลการรับประทานอาหาร
และน้ำอย่างเพียงพอ
น้ำนมมารดามีมาก
แนะนำให้มารดาบีบน้ำนมออก
บางส่วนแล้วจึงนาทารกมาดูด
แนะนำให้มารดาให้นมบุตรข้างเดียวในแต่ละมื้อ
เพื่อลดการกระตุ้นการสร้างน้ำนมให้ลดลง
เต้านมคัด
Breast engorgement
แนะนำมารดานำเด็กไปดูดนมเร็วที่สุด
ใช้กระเป๋าน้ำแข็งหรือผ้าเย็นประคบ
Breast support
นวดเต้านม
ให้ยาแก้ปวด
ห้าม Pump น้ำนมออก
หัวนมแตก
แนะนำให้มารดานาบุตรดูดนมข้างที่เจ็บน้อยกว่า
เพื่อกระตุ้นให้เกิด Let down reflex
บีบน้ำนมออกเล็กน้อยแล้วทาบริเวณหัวนมและ
รอบๆแล้วปล่อยให้แห้งจะช่วยให้หายเร็วขึ้น
ปวดหัวนมมากให้ยาบรรเทาปวด
ถ้าหัวนมแตกรุนแรง
ใช้หัวนมปลอมครอบ nipple shield
หัวนมสั้น
ก่อนที่จะนำทารกมาดูดนมแนะนำให้มารดาทำ
Hoffman's maneuver ประมาณ 3-5 ครั้ง
และดึงหัวนมขึ้นตรงๆและเบา 3-5 ครั้ง
แนะนำให้มารดานำทารกคาบหัวนม
ให้ลึกจนเหงือกกดบริเวณลานนม
หัวนมบอดหรือบุ๋ม
ช่วยเหลือมารดาในการเตรียมหัวนมตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
โดยแนะนำให้Hoffman s exercise
ในกรณีที่ทารกไม่สามารถคาบหัวนมได้
จัดท่าให้ทารกนอนอยู่ข้างลำตัวมารดา
โดยใช้มือมารดาประคองเต้านมไว้
หากทารกดูดนมมารดาไม่พอกับความต้องการ
แนะนำให้มารดาบีบน้านมใส่แก้ว
และป้อนนมให้ทารกโดยวิธี cup feeding
ถ้าเต้านมคัดตึงควรประคบเต้านมด้วยน้ำอุ่น
หรือบีบน้านมออกบางส่วนเป็นการทำให้เต้านมมีลักษณะอ่อนนุ่ม
แล้วจึงจัดท่าทารกให้ดูดนมมารดาอย่างถูกวิธี