Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะเสี่ยงสูง, ่, ่ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ทารก
หมายถึง
ทารกในช่วง 28วันแรกของชีวิต
เป็นระยะเริ่มต้นที่มีความสำคัญมากต่อการมีชีวิตรอดและผลต่อสุขภาพต่อมา
การจำแนกประเภททารกแรกเกิด
จำแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
1.ทารกน้ำหนักตัวน้อย(low birth weight infant)
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า2,500 กรัม
ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม(very low birth weight infant)
ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม(extreme low birth weight infant)
2.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวปกติ(normal birth weight infant)
ทารกที่มีน้ำหนักตัวแรกเกิด 2,500-4,000 กรัม
จำแนกตามอายุครรภ์
1.ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกอายุครรภ์37สัปดาห์เต็มหรือต่ำกว่านี้
2.ทารกคลอดครบกำหนด
ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า37-41สัปดาห์เต็ม
3.ทารกแรกเกิดเกินกำหนด
ทารกที่มีอายุครรภ์มกกว่า41 สัปดาห์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ/ปัจจัยเสริม
มารดา
อายุน้อยกว่า 18 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
โรคประจำตัว เช่นเบาหวาน
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายเกินไป
ติดเชื้อในร่างกาย
ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ใช้สารเสพติด
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเขื้อ
น้ำหนักน้อย
รูปร่างและแขนขามีขนาดเล็ก
ศีณษธใหญ๋
เปลือกตาบวม
พบขนอ่อน
ลายผ่ามือ เท้า เรียบ
มีกล้ามเนื้อ และไขมันติดผิวหนัง
ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด
กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงเจริญไม่ดี
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การดึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
เสียงร้องเบา
หัวนมเล็ก
ท้องป่อง
ขนาดอวัยวะเพศเล็ก
ปัญหาที่พบบ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนด
1.การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
2.ระบบไหลเวียนโลหิต
3.ระบบกายหายใจ
4.ระบบทางเดินอาหาร
5.ระบบประสาท
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ทารกจะไวต่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ผิวหนังบาง
พื้นผิวร่างกายมาก
มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ต่อมเหงือทำงานไม่ดี
ความสามารถในการผบิตความร้อนโดยไม่ควบคุมยังน้อย
การสูญเสียความร้อนมนทารกแรกเกิด
การนำ(Condruction)
การพา(Convection)
แผ่รังสี(radiation)
การระเหย(evaporation)
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทางรักแร้
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ(Hypothemia)
อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่า 36.5
อาการแรกเริ่ม
มือเท้้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลายจากเส้นเลือด ดูดนมช้า อาเจียน ท้องอืด
การดูแล
จัดให้อยู่อุณหภูมิที่เหมาะสม
วัดอุณหภูมิ
keep warm
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
วัดอุณหภูมิทุก 4ชม
การควบคุมอุณหภูมิกายทารกที่อยู่ในตู้อบ
ต้องแรับอุณหภูมิด้วยมือ หรือปรับอัตโนมัติ
ปรับอุณหภูมิที่ตู้เริ่มที่ 36
ติดตามอุณหภูมิทุก 15-30 นาที
กรณีทารกอยู่ในอุณหภูมิปรับอัตโนมัติ
ติด skin probeบริเวณหน้าท้อง
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่36.5 องศาเซลเซียส
ระบบไหลเวียนโลหิต
การหายใจของทารกแรกเกิดเปลี่ยนจาก รกเป็นปอด
Fetal circulation เป็น Neonatal circulation
ส่งผลให้
Foramen ovale ปิดสมบูรณ์
Ductus arteriosus หดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น
Ductus venosus ปิดเมื่อสะดือถูกตัดกลายเป็นเอ็นที่ตับ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน(Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว
หอบเหนื่อย
รับนมได้น้อย
ท้องอด
น้ำหนักไม่ขึ้น
การรักษา
1.การรักษาทั่วไป
2.การรักษาจำเพาะ
ใช้ยายับยั้งการสร้าง prostaglandin
การผ่าตัดPDA ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
เกิดจากบิลลิรูบิน ในเลือดสูงกว่าปกติ
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.ภาวะตัวเหลืองจากสรีรวิทยา
2.ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ
สาเหตุ
1.มีการสร้างบิลลิรูบิน้พิ่มมากขึ้นมากกว่าปกติ
2.มีการดูดซึมของบิลลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
3.มีการกำจัดบิลลิรูบินน้อยลง
4.มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มมากขึ้นและกำจัดน้อยลง
5.มีการูดซึงบิลลิรูบินในสำไล้มากขึ้นจากภาวะเกี่ยวข้องกับดารเลี้ยงดูด้วยนมแม่
อาการระยะแรก
ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
อาการระยะยาว
มีความเคลื่อนไหวผิดปกติ มีความผิดปกติของการได้ยิน ลูฏตา พัฒนาการช้า
การวินิจฉัย
ประวัติครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การส่องไฟ(phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด(exchange transfution)
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา
เช็ดทำความสะอาดตาและตรวจตาทารกทุกวัน
ควรปิดตาทุก 4 ชั่วโมง
ระหว่างให้นมควรให้ทารกได้สบตากับมารดา
ถอดเสื้อผ้าและจัดทารกอยู่ในท่านอนหงาย
ให้ทารกอยู่ตรงแผงหลอดไฟ
บันทึกสัญญาณชีพทุก1-4ชม.
สังเกตุลักษณะอุจจาระ
บันทึกลักษณะอุจจาระ
ให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลลิรูบิน
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
RSD(Respiratory Distress Syndrome)
คือภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมรชีภาวะhypothermia
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะRSD
สาเหตุ
เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
โครงสร้างปอดพัฒนาไม่เต็มที่
การป้องกัน
1.มารดาที่มีความเสี่ยงคลอดก่นกำหนดควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชม.ก่อนคลอด
2.ป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
อาการและอาการแสดง
1.ระบบไหลวียน
หายใจเร็ว
หายใจกับหน้าอกไม่สัมพันธ์กัน
ชีด
BPต่ำ
2.ระบบทรวงอก
หน้าอบุ๋ม
3.ระบบทางเดินอาหาร
ดูดนมไม่ดี
อาเจียน
ท้งอืด
4.ระบบผิวหนัง
ตัวลาย ผิวหนังเย็น
6.เมตาบอลิซึม
Hypoglycemia
การรักษา
ให้ออกซิเจนตามวามต้องการ
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ให้สารลดแรงตึงผิว
Perinatal asphyxia
สาเหตุ
1.ปัจจัยที่เกี่ยวของกับการคลอดได้แก่ ศีรษะทารกไม่สัมพันธ์กับเชิงกรานแม่
2.ปัจจัยทางด้านมารดา ได้แก่ ตกเลือด อายุมาก รกเกาะต่ำ
3.ปัจจัยเกี่ยวกับทารก ได้แก่ ทารกคลอดก่อนกำหนด
การรักษา
1.สังเกตุอาการอย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง
2.ให้ความอบอุ่น
3.ให้ออกซืเจนเหมาะสม
4.งดอาหารทางปากชั่วคราว
5.ให้เลือด
6.ระวังอาการชัก
7.พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
8.ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อน
Apnea of prematurity
ภาวะหยุดหายใจนาน 20 วินาที
สาเหตุ
permaturity
infection
metabolic disordr
Impaired oxegenation
CNS
drug
Gastroesophageal reflux
การดูแลรรบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนให้เหมาะสม
สังเตุอาการพร่องออกซิเจน
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
IVH
คือภาวะเลือดออกในสมอง
ปัจจัยเสี่ยง
ช่วงก่อนคลอด
ทารกขาดออกซิเจน
ช่วงหลังคลอด
RSD,NEC
ความรุนแรงแบ่งเป็น 4 ระดับ
grade 1
มีเลือดออกที่germinal matrix
grade 2
มีเลือดออกในโพรงสมอง
grade 3
มีเลือดออกในโพรงสมองขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade 4
มีเลือดออกในโพรงสมอง ร่วมกับเลือดออกในโพรงสมอง
ROP
เป็นความผิดปกติในทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อย
มีลักษณะคือการงอกผิดปกติของเส้นเลือด
การวินิจฉัย
ตรวจครั้งแรกเมื่ออายุ 4-6สัปดาห์
ถ้าพบROPควรมานัดตรวจซ้ำทุกๆ 1-2สัปดาห์
การพยาบาล
1.ดูแลให้รับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
2.ติดตาม O2 sat ดูแลให้อยู่ระหว่าง 88-92%
3.ดูแลให้ทารกับการตรวจsceening ROP
4.ดูแลให้ทารกมีภาวะROPรุนแรงได้รับการรักษาโดนการใช้แสงเลเซอร์
Bronchopulmonary Dysplasia
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม
ออกซิเจนในเลือดต่ำกว่าปกติ
คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
ความดันในปอดสูง
การวินิจฉัย
ประวัติ
ภาพถ่ายทางรังสี
ระยะที่1 ปอดขยายตัวไม่เต็มที่ มีฝ้าจุดขาวเล็กๆทั่วปอด
ระยะที่ 2 มีฝ้าขาวที่ปอด
ระยะที่ 3 เข้าสู่ระยะเรื้องรัง เห็นก้อนเนื้อในปอด
ระยะที่ 4 ระยะเนื้อมีatelectasis
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการเช่น ให้ออกซิเจน ให้ยาขยายหลอดลม
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การสร้างIgMยังไม่สมบูรณ์ได้รับIgAจากมารดา
เม็ดเลือดขาวมีน้อย
ผิวหนังเปราะบาง
Sepsis
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ ไช้ ผื่น ต่อมน้ำเหลือง
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Culture 24-28 hr.
CBC
ESR
CRP
CXR
อาการและอาการแสดง
ซึม
ร้องนาน
ไม่ดูดนม
ซีด
ตัวลายเป็นจ้ำ
ผิวหนังเย็น
หายใจเร็ว
ท้องอืด อาเจียน
สั่น ชัก
การพยาบาล
1.ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย
2.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
3.ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
4.ดูแลทำความสะอาดร่างกาย
5.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
6.แยกทารก
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis(NEC)
คือภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือด
สาเหตุ
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
การเริ่มนับนมและเพิ่มปริมาณนม
ภาวะขาดออกซิเจน
ปัจจัยที่ทำให้ทารกเกิดภาวะลำไส้เน่าตาย
มารดาใช้สารเสพติดขณะตั้งครรภ์
ทารกติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเบือด
การเจิญเติบโตช้าในครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกเกิดภาวะเลือดข้น
น้ำหนักทารกน้อยกว่า 2000 กรัม
ความพิการหัวใจตั้งแต่กำเนิด
การให้นมผสมที่เข้มข้นสูงผ่านทางเดินอาหาร
การใส่สายสวน
อาการ
เซื่องซึม
ดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง
ร้องกน
อุณหภูมิต่ำ
หยุดหายใจ
มีภาวะกรดเกิน
โซดียมและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะ
ท้องอืด
ถ่ายอุจจาระเหลว
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
มีอาหารค้างเหลือ
อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การวินิจฉัย
เอกซเรย์ทางช่องท้อง
เอกซเรย์ด้านข้าง
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การเพาะตัวอย่างเลือด
การรักษา
การระงับสอ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดการอักเสบ
ยาปฏิชีวนะผิดสเปกตรัมกว้าง
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต
เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
การรักษาโดยการผ่าตัด มี 2 วิธี
1.การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
2.การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemia
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
หมายถึงระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40mg%(term)
หมายถึงระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 35mg%(preterm)
อาการแสดง
ซึม
ไม่ดูดนม
มีสดุ้งผวา
อาการสั่น
ซีดหรือเขียว
หยุดหายใจ
ลำตัวอ่อนปวกเปียก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen
การสร้างกลูโคสไดน้อย
มีภาวะเครียดระหว่างตั้งครรภ์
MAS
เป็นภาวะทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลม
ส่งผลให้ทารกหายใจลำบาก
พบบ่อยในทารกเกิดครบกำหนดและทารกเกินกำหนด
สาเหตุ
ปัจจัยมารดา
1.อายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
ความดันโลหิตสูง
รกเกาะต่ำ
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
ถุงน้ำคร่ำอักเสบ
ใช้สารเสพติด
ปัจจัยทารก
ทารกมีภาวะเครียด
มีการคลายตัวของหูรูดลำไส้ของทารก
ทารกมีการถ่ายขี้เทาปนน้ำคร่ำมารดา
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงน้อย
หายใจเร็วระยะสั้นๆเพียง 24-72ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง
หายใจรุนแรงขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง
อาการรุนแรงมาก
ระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน2-3ชั่วโมงหลังเกิด
แนวทางการรักษา
1.ให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ
2.ให้ยาตามอาหารของทารก
3.พิจารณให้ยาขยายหลอดเลือดในปอด
4.ให้ยาปฏิชีวะนะ
เฝ้าระวังอาการแทรกซ้อนที่สำคัญ
การพยาบาล
ให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก2-4ชั่วโมง
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
การวางแผนจำหน่าย
ทารกมีอาการดีขึ้นไม่มีปัญหาการหายใจหรือภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
สามารถดูดนมได้เอง
น้ำหนักเพิ่มขึ้นสม่ำเสมอ
พยาบาลมีการวางแผนจำหน่ายตั้งแต่แรกเริ่ม
สอนมารดาเกี่ยวกับการให้นมมารดาแก่ทารก
ทารกเกิดก่อนกำหนดมีพัฒนาการของระบบประสาทส่วนกลาง
สอนมารดาเกี่ยวกับการคิดอายุจริงของทารก
พัฒนาการพฤติกรรมทางระบบประสาท
การจัดท่า
การจับทารกเท่าที่จำเป็น
จัดสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยให้มีการกระตุ้นทางแสงและสีน้อยที่สุด
ส่งเสริมพัฒนาการด้านประสาทสัมผัสของทารกในขณะการรักษา
่
่