Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะผู้นำ Leadership Motivation and Behavior, นายสมคิด ชิงชัย …
ภาวะผู้นำ
Leadership Motivation and Behavior
Leadership and Major Motivation Theories
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจด้านเนื้อหา
ทฤษฎีความต้องการของเมอร์เรย์
ความตอ้งการพื้นฐานทางด้านร่างกาย (primary needs)
ความต้องการขั้นทุติยภูมิ (secondary needs)
ทฤษฎีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของแมคคลีแลนด์
ความต้องการความสำเร็จ (need for achievement (nach)
ความต้องการความผูกพัน (need for affiliation (naff)
ความต้องการอำนาจ (need for power (npower)
ทฤษฎี ERG ทศวรรษที่ 1972
ความต้องการดำรงชีวิตอยู่ได้ (Existence Need)
ความต้องการความสัมพันธ์ (Relatedness Need)
ความต้องการเติบโตก้าวหน้า (Growth Need)
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ทศวรรษที่ 1960
ทฤษฎี X
ทฤษฎี Y
ทฤษฎี Two-Factor เป็นแนวคิดของ Herzberg
ปัจจัยจูงใจ
ปัจจัยอนามัย
ทฤษฎี Abraham Maslow
ทฤษฎีแรงจูงใจด้านกระบวนการ
ทฤษฎีความคาดหวังของวรูม
รูปแบบของความคาดหวังในการทำงานซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในการอธิบายกระบวนการจูงใจของมนุษย์ในการทำงานโดยVroom มีความเห็นว่าการที่จะจูงใจให้พนักงานทำงานเพิ่มขึ้นนั้นจะต้องเข้าใจกระบวนการทางความคิดและการรับรู้ของบุคคลก่อน
ทฤษฎีความเสมอภาคของอดัมส์
บุคคลย่อมแสวงหาความเสมอภาคทางสังคมโดยพิจารณาผลตอบแทนที่ได้รับ (output) กับตัวป้อน (input) คือพฤติกรรมและคุณสมบัติในตัวที่เขาใส่ให้กับงาน ความเสมอภาคจะมีเพียงใดขึ้นอยู่กับการเปรียบเทียบการรับรู้ความสอดคล้องระหว่างตัวป้อนต่อผลตอบแทน (perceived inputs to outputs)
ทฤษฎีการกำหนดเป้าหมายของล๊อค
อะไรก็ตามที่บุคคลจะต้องพยายามไปให้ถึง การตั้งเป้าหมายจะทำให้ได้ผลการทำงานที่ดีกว่าไม่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ และเป้าหมายที่ยากก็จะก่อให้เกิดแรงจูงใจมากกว่าเป้าหมายที่ง่าย
ทฤษฎีการจูงใจของ Skinner
สกินเนอร์ได้นำเสนอการใช้การเสริมแรงเพื่อการจูงใจบุคคลให้เกิดพฤติกรรมใหม่ ทำพฤติกรรมซ้ำหรือหยุดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ตั้งเป็น law of effect โดยมองการเสริมแรงเป็น 2 ด้าน ได้แก่ การเสริมแรงทางบวกและการเสริมแรงทางลบ
Leadership Behavior
การศึกษาของมหาวิทยาลัยไอโอวา
เคิร์ท เลวิน และคณะได้ทดลองและสังเกตผลกระทบของสไตล์ความเป็นผู้นำ 3 แบบ คือ แบบเผด็จการ แบบประชาธิปไตย และแบบเสรีนิยม ความแตกต่างพื้นฐานของสามแบบนี้คือการตัดสินใจภายในกลุ่ม และการใช้อำนาจ
การศึกษาของมหาวิทยาลัยมิชิแกน
มหาวิทยาลัยแห่งมิชิแกน ผลจากการศึกษาก่อให้เกิดพฤติกรรมผู้นำ 2 แบบ คือ พฤติกรรมแบบมุ่งผลผลิต/แบบมุ่งงาน และพฤติกรรมแบบมุ่งพนักงาน
การศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ
นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตทพบว่าพฤติกรรมของผู้นำสามาถอธิบายได้เป็นสองมิติ คือ พฤติกรรมมุ่งคน (consideration) และ พฤติกรรมมุ่งงาน (initiating structure)
The Leadership Grid
ภาวะผู้นำตามแนวตาข่ายการจัดการ (The Managerial Grid) บอกถึงพฤติกรรมผู้นำ 2 มิติ คือ มิติที่ผู้นำมุ่งให้ความสนใจเกี่ยวกับการผลิต (Concern for Production)
องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรม จากการสังเคราะห์เอกสาร
พฤติกรรมด้านมุ่งสัมพันธ์
พฤติกรรมด้านมุ่งงาน
พฤติกรรมด้านมุ่งการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมด้านผู้นำทีม
พฤติกรรมผู้นำด้านมุ่งผลผลิต
นายสมคิด ชิงชัย
63632233201