Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง
การจำแนกประเภททารกแรกเกิด
การจำแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย
Low birth weight infant
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า
2,500 กรัมในกลุ่มนี้อาจแบ่งย่อยเป็น
ทารกที่มีน้ำหนัก
ต่ำกว่า 1,500 กรัม
ทารกที่มีน้ำหนัก
ต่ำกว่า 1,000 กร
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกคอดก่อนกำหนด
Preterm infant
ทารกที่มีอายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็มหรือต่ำกว่าน
สาเหตุ
มารดา
อายุมารดาน้อยกว่า18ปีหรือมากกว่า 35 ปี
โรคประจำตัวเช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ
มดลูกขยายตัวมากเกินไป เช่น ครรภ์แฝดภาวะน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
ทารกแรกเกิดครบกำหนด
Tern mature infant
ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์ถึง 41 สัปดาห์เต็ม
ทารกแรกเกิดเกินกำหนด
Post term infant
ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า41 สัปดาห์
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
Hyperbilirubinemia
สาเหตุ
1.มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
2.มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดี
อุดตันการขาดเอนไซม์บางชนิดแต่กำเนิด
4.มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น
ร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
5.มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้นภาวะ
ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ(Physiologicaljaundice)
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ(Pathological jaundice)
อาการระยะยาว
มีความเคลื่อนไหวผิดปกติ มีความผิดปกติของการได้ยิน ลูกตา
พัฒนาการช้า
อาการระยะแรก
ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
การรักษา
การส่องไฟ
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
การพยาบาล
ควรปิดตาทุก 4 ชั่วโมง
ระหว่างให้นมควรให้ทารกได้สบตากับมารดา
ถอดเสื้อผ้าแต่จัดทารกอยู่ในท่านอนหงาย
ให้ทารกอยู่ตรงแผงหลอดไฟ
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบิน
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
บันทึกสัญญาณชีพทุก 1-4 ชั่วโมง
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดต
เช็ดทำความสะอาดตาและตรวจตาทารกทุกวัน
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
Patent Ductus Arteriosus
อาการ
รับนมได้น้อย
หอบเหนื่อย
หายใจเร็ว
ท้องอืด
การรักษา
การรักษาทั่วไป ให้ยาควบคุม อาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การรักษาจำเพาะ
การหายใจของทารกแรกเกิดเปลี่ยนจากรกเป็นปอด
Fetal circulation เป็น Neonatal circulation
Ductus arteriosus จะหดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น (ligamentum arteriosum)
Foramen ovale ปิดสมบูร์
Ductus venosus ปิดเมื่อสายสะดือถูก
ตัดกลายเป็นเอ็นที่ตับ (ligamentum venosum)
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
Perinatal asphyxia
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด ได้แก่
ศีรษะทารกไม่สัมพันธ์กับเชิงกรานแม
ปัจจัยทางด้านมารดา ได้แก่
ตกเลือด อายุมาก รกเกาะต่ำ
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก ได้แก่
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การรักษา
1.สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง
ให้ความอบอุ่น
ให้ออกซิเจนเหมาะสม
งดอาหารทางปากชั่วคราว
ให้เลือด
ระวังอาการชัก
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อน
RDS
(Respiratory Distress Syndrome)
คือภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบากพบได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนดที่ GA<34-36 wksน้ำหนักตัว <1,500gm. อายุครรภ์ต่ำกว่า 28 wksน้ำหนัก <1,000 gm. มีโอกาสเกิดไดใ้น 60-80%
สาเหตุ
โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที
เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
ปัจจัยที่เสี่ยง
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
มารดามีเลือดออกทาง ช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีภาวะ hypothermia, Perinatal asphyxia
อาการและอาการแสดง
ระบบไหลเวียน
ซีด
หายใจเร็ว
หายใจกับหน้าอกไม่สัมพันธ์กัน
BP ต่ำ
ระบบทรวงอก
หน้าอกบุ๋ม
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบผิวหนัง
ตัวลาย ผิวหนังเย็น
เมตาบอลิซึม
Hypoglycemia
การรักษา
ให้สารลดแรงตึงผิว
ให้ออกซิเจนตามความต้องการ
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ROP
เป็นความผิดปกติในทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อย
มีลักษณะคือการงอกผิดปกติของเส้นเลือด
การวินิจฉัย
มีลักษณะคือการงอกผิดปกติของเส้นเลือด
ตรวจครั้งแรกเมื่ออายุ 4-6 สัปดาห์
ถ้าพบ ROP ควรมานัดตรวจซ้ำทุกๆ 1- 2 สัปดาห์
ดูแลให้ทารกกับการตรวจSceening ROP
ถ้าพบ ROP ควรมานัดตรวจซ้ำทุกๆ 1-2 สัปดา
IVH
ความรุนแรงแบ่งเป็น 4 ระดับ
grade 1
มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2
มีเลือดออกในโพรงสมอง
grade 3
มีเลือดออกในพงสมอง ขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade 4
มีเลือดออกในโพรงสมอง
คือภาวะเลือดออกในสมอง
ปัจจัยเสี่ยง
ช่วงก่อนคลอด
ทารกขาดออกซิเจน
ช่วงหลังคลอด
RSD,NEC
Apnea of prematurity
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
จัดท่านอนให้เหมาะสม
สังเกตุอาการพร่องออกซิเจน
ระวังการสำลัก
สาเหตุ
CNS
Metabolic disorder
Permaturity
Infection
Impaired oxegennation
Drug
Gastroesophageal reflux
ภาวะหยุดหายใจนาน 20 วินาที
Bronchopulmonary Dysplasia
อาการและอาการแสดง
ความดันในปอดสูง
ออกซิเจนในเลือดต่ำกว่าปกติ
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม
คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
ภาพถ่ายจากรังสี
ระยะที่ 1ปอดขยายตัวไม่เต็มที่มีฟ้าจุดขาวเล็กๆทั่วปอด
ระยะที่ 2 มีฝ้าขาวที่ปอด
ระยะที่ 3 เข้าสู่ระยะเรื้อรังเป็นก้อนเนื้อที่ปอด
ระยะที่ 4 ระยะเนื้อมี atelectasis
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ เช่นให้ออกซิเจนให้ยาขยายหลอดลม
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
สาเหตุ
การเริ่มนับนมและเพิ่มปริมาณนม
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจน
คือภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของโรคทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือด
ปัจจัยที่ทำให้ทารกเกิดภาวะลำไส้เน่าตาย
การให้นมผสมที่เข้มข้นสูงผ่านทางเดินอาหาร
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์
น้ำหนักทารกน้อยกว่า 2000 กรัม
มารดาใช้สารเสพติดขณะตั้งครรภ์
ทารกติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกเกิดภาวะเลือดข้น
ความพิการหัวใจแต่กำเนิด
การใส่สายสวน
อาการ
มีภาวะกรดเกิน
อุณหภูมิต่ำ
ตัวเหลือง
เซื่องซึม
ดูดนมไม่ดี
หยุดหายใจ
โซเดียมและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะ
มีอาหารค้างเหลือ
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
ท้องอืด
ถ่ายอุจจาระเหลว
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
เอกซเรย์ทางช่องท้อง
เอกซเรย์ด้านข้าง
การเพาะตัวอย่างเลือด
การรักษา
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต
การระงับกระตุ้นที่ทำให้เกิดการอักเสบ
ยาปฏิชีวนะผิดสเปกตรัมกว้าง
เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemia
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
หมายถึงระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 mg%(term)
หมายถึงระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 35 mg%(preterm)
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
มีภาวะเครียดระหว่างตั้งครรภ์
การสร้างกลูโคส
Glycogen
อาการแสดง
หยุดหายใจ
มีสะดุ้งผวา
ซึม
ไม่ดูดนม
อาการสั่น
ซีดหรือเขียว
นำตัวอ่อนปวกเปียก
MAS
ป็นภาวะทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจ
เอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคล่ำเข้าไปในหลอดลม
สาเหตุ
ปัจจัยมารดา
ถุงน้ำคร่ำอักเสบ
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
อายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
ความดันโลหิตสูง
รกเกาะต่ำ
ใช้สารเสพติด
ปัจจัยทารก
ทารกมีการถ่ายขี้เทาปนน้ำคร่ำมารดา
ทารกมีภาวะเครียด
มีการครายตัวของหูรูดลำไส้ของทารก
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงน้อย หายใจเร็วระยะสั้นๆเพียง 24 - 72 ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลางหายใจรุนแรงขึ้นมีการดึงรั้งของช่องซี่โครง
อาการรุนแรงมาก ระบบหายใจล้มเหลวทันทีหรือภายใน 2 - 3ชั่วโมงหลังเกิด
แนวทางการรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ให้ยาตามอาการของทารก
พิจารณาให้ยาขยายหลอดเลือดในปอด
ให้ยาปฏิชีวนะ
เฝ้าระวังอาการแทรกซ้อนที่สำคัญ
การพยาบาล
ให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก 2 - 4 ชั่วโมง
สังเกตุอาการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ภาวะอุณหภูมิกายสูง
Hyperthermia
หมายถึง
อุณหภูมิกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส อาจเกิดการติดเชื้อการอยู่ในอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมที่ร้อนเกินไป
การดูแล
ปรับอุณหภูมิห้องให้อยู่ในเกณฑ์ ที่เหมาะสม 25 - 26องศาเซลเซียส
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4ชั่วโมงและปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
จัดให้อยู่ในที่อุณหภูมิเหมาะสม
อาการเริ่มแรก
จะหงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น มีการเคลื่อนไหวลดลง หายใจเร็วและแรงหรือการหยุดหายใจ ซึม สัมผัสผิวหนังพบว่าอุ่นกว่าปกต
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทางรักแร
ทารกแรกเกิดจะไวต่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปล
ผิวหนังบางทำให้เส้นเลือดอยู่ชิดกับผิวหนัง
พื้นผิวพลังกายมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว
มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
การนำ
การพา
การแผ่รังสี
การระเหย
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ผิวหนังเปราะบาง
การสร้างIgMยังไม่สมบูรณ์ได้รับIgAจากมารดา
เม็ดเลือดขาวมีน้อย
Sepsis
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ ไข้ ผื่น ต่อมน้ำเหลือง
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CXR
ESR
Culture 44-28 hr.
CBC
CRP
อาการและอาการแสดง
สั่น ชัก
ไม่ดูดนม
ซึม
ร้องนาน
ซีด
ผิวหนังเย็น
หายใจเร็ว
ท้องอืด อาเจียน
การพยาบาล
ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ดูแลทำความสะอาดร่างกาย
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
แยกทารก
การวางแผนจำหน่าย
ทารกเกิดก่อนกำหนดมีพัฒนาการของระบบประสาทส่วนกลาง
ทารกมีอาการดีขึ้นไม่มีปัญหาการหายใจหรือภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
สามารถดูดนมได้เอง
น้ำหนักเพิ่มขึ้นสม่ำเสมอ
พยาบาลมีการวางแผนจำหน่ายตั้งแต่แรกเริ่ม
สอนมารดาเกี่ยวกับการให้นมมารดาแก่ทารก
สอนมารดาเกี่ยวกับการคิดอายุจริงของทารก