Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศในการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและ…
หน่วยที่ 13 การใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศในการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเรื่องของภูมิสารสนเทศ
องค์ประกอบ
1.การรับรู้จากระยะไกล
การได้มาซึ่งข้อมูลจากดาวเทียม
ลักษณะเด่นของข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากร
ความรวดเร็วในการได้มาซึ่งข้อมูล
เป็นข้อมูลเชิงตัวเลข
ประหยัดงบประมาณ
มีความทันสมัย
มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติ
สามารถบันทึกภาพได้ทั่วโลก
2.ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก
ทำงานโดยอาศัยคลื่นวิทยุที่ส่งมาจากดาวเทียม
3.ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเชิงพื้นที่
ความสำคัญ
1.ประหยัดเวลา
2.ถามตอบปัญหาได้หลากหลาย
3.สามารถประยุคใช้ได้หลายสาขา
ความหมาย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการได้มาของข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การบูรณาการข้อมูล การวิเคราะห์ การแปลตีความหมาย การจัดการการเผยแพร่และการใช้ข้อมูลข่าวสารเชิงพื้นที่ของโลก
หลักการเบื้องต้นเกียวกับภูมิสารสนเทศ
การรับรู้จากระยะไกล
ให้ได้มาซึ่งข้อมูลและข่าวสารเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมในขณะใดขณะหนึ่งโดยมิได้สัมผัสกับวัตถุหรือพื้นที่
กระบวนการเกี่ยวกับการรับรู้ระยะไกล
การได้มาซึ่งข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
ประเภทของดาวเทียม
ดาวเทียมแบ่งตามการโคจร
โคจรสอดคล้องกับดวงอาทิตย์
สอดคล้องกับการหมุนของโลก
ดาวเทียมตามลักษณะการใช้ประโยชน์
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ดาวเทียมสำรวจแผ่นดิน
ดาวเทียมสมุทรศาสตร์
ดาวเทียมสื่อสาร
ดาวเทียมแบ่งตามกำเนิดพลังงาน
ระบบการรับรู้จากระยะไกล
ระบบบันทึกที่มีแหล่งพลังงานที่สร้างขึ้นแล้วส่งไปยังวัตถุเป้าหมาย
ลักษณะของข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมสำรวจธรรมชาติ
เป็นการบันทึกค่าการสะท้อนพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าของสรรพสิ่งบนพื้นพิภพ มีรูปร่างลักษณะและสี ต่างกัน ตามช่วงเวลาและลักษณะพื้นผิว
ดาวเทียมสำรวจธรรมชาติ
ดาวเทียมแลนด์แซท ของ NASA
ดาวเทียมสปอต ในความรับผิดชอบของสถาบันอวกาศแห่งฝรั่งเศส
ดาวเทียม DARASSAT-1
ดาวเทียม IKONOS-2
ดาวเทียม THEOS
การกำหนดตำแหน่งบนโลก
ทำงานโดยอาศัยคลื่นวิทยุและรหัสที่ส่งมาจากดาวเทียม
ระบบดาวเทียมที่ใช้ในปัจจุบัน
ระบบดาวเทียมชื่อ NAVSTAR-GPS ใช้คลื่นวิทยุในการกำหนดตำแหน่งและหาเวลาได้ ทุกสภาพกาลอากาศ
ส่วนอากาศ ประกอบด้วยดาวเทียมจำนวน 24 ดวงที่โคจรอยูรอบโลก
ส่วนควบคุมระบบควบคุมการปฎิบัติการ
ส่วนผใู้ช้สามารถใชได้ทั้งบนบก ในทะเล หรือบนอากาศ
วิธีการกำหนดตำแหน่ง
การกำหนดตำแหน่งสมบูรณ์
เป็นการคำนวณเพื่อหาค่าพิกดัในระบบแกนพิกดัของโลก
การกำหนดตำแหน่งสัมพัทธ์
เป็นการคำนวณหาตำแหน่งของจุดหนึ่งโดยการเปรียบเทียบกับอีกจุดหนี่ง ดังนั้นค่าที่ไดร้ับจึงเป็นค่าความต่างของค่าพิกัด
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การบันทึกและการค้นคืนข้อมูล
ประเภทของข้อมูลในระบบ GIS
ข้อมูลเชิงพื้นที่
เป็นข้อมูลที่ระบุตำแหน่งพิกัดที่ตั้ง
ข้อมูลที่ไม่อยู่ในเชิงพื้นที่
เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะต่างๆ
รูปแบบของข้อมูลในระบบ GIS รูปแบบ (format)
ข้อมูลแบบแรสเตอร์ (raster data) ขอ้มูลชนิดนี้อยูในรูปแบบลักษณะตาหมากรุก 14 หรือเรียกว่า ข้อมูลกริด (gridded data)
ข้อมูลแบบเวกเตอร์ (vector data) เป็นขอ้มูลที่แสดงตำแหน่งที่แน่นอนของวัตถุ โดยจะแสดงลักษณะเป็นจุด เส้น และพื้นที่เหมือนกัน
ขั้นตอนการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ GIS
ป้อนข้อมูลเชิงพื้นที่สู่ระบบโดยใช้วิธีแปลงข้อมูลแผนที่เป็นข้อมูลตัวเลข
ใส่ขอ้มูลที่ไม่อยู่ในเชิงพื้นที่สู่ระบบโดยวธิีการสร้างตารางความสัมพันธ์(attribute table)
เชื่อมข้อมูลทั้งสองประเภทข้างต้นเข้าด้วยกัน ด้วยระบบ GIS ซึ่งในแต่ละระบบ อาจมีวิธีการจัดการกับข้อมูลในแต่ละขั้นตอนต่างกัน
การวิเคราะห์ข้อมุล
การนำเอาข้อมูลแผนที่ต่างๆ ที่เก็บไว้ในระบบมาทำการประมวลผล ด้วยวิธีการซ้อนทับเพื่อทำการวเิคราะห์ หรือกำหนดวางแผนการจัดการกับพื้นที่นั้น ๆ เพื่อใหเ้กิดผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้ใช้ต้องการ
การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล
การแสดงผลข้อมูล
การเรียกค้นข้อมูลหรือผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในระบบ GIS สามารถแสดงผลออกมาได้ในลักษณะของแผนที่ หรือตารางแสดงผลข้อมูลออกมาได้ทั้งในจอคอมพิวเตอร์ หรือจะพิมพอ์อกมาเป็นภาพ เพื่อจัดทำเป็นรายการต่างๆ ได้
การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ
การวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียม
การแปลภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสวยตา
เทคนิคการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียม
ลักษณะการสะท้อนคลื่นแสง
ลักษณะรูปร่าง และขนาด
การวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และกำหนดตำแหน่งบนโลก
ขั้นตอนการป้อนข้อมูล
การจัดระบบ การเก็บ และการเรียกข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การกำหนดน้ำหนักและคะแนน
การตรวจสอบความถูกต้อง
การใช้ประโยชน์จากภูมิสารสนเทศ
การประยุกต์สารสนเทศในระดับมหาภาค
กำหนดเป้าหมายการผลิต
ดูได้จากแหล่งผลิต ปริมาณการผลิต ปริมาณความต้องการของตลาด
จัดสรรพื้นที่ให้เหมาะสมกับเป้าหมายการผลิต
เพื่อกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค้าเกษตรโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
วิเคราะห์หาความเหมาะสมของพื้นที่
นำข้อมูลแผนที่มาวิเคราะห์ร่วมกันเพื่อหาความเหมาะสมขิงพื้นที่ทางกายภาพสำหรับการปลูกพืช
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางเศรษฐกิจ
นำแผนที่ความเหมาะสมของพื้นที่ มาวิเคราะห์ร่วมกับปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจที่สำคัญและมีผลต่อระบบการผลิต
การประยุกต์สารสนเทศระดับจุลภาค
การสำรวจพืชเศรษฐกิจเพื่อปริมาณผลผลิต
การวางแผนการเก็บภาษี
การจัดการเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร
การศึกษาความเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในเมืองใหญ่
การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานชุมชน การจัดเก็บขยะ
การค้นหาเส้นทางที่เหมาะสมในการวางแผนการจราจรฉุกเฉิน