Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นางสาวภัชราภรณ์ หนูรอด เลขที่…
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
หมายถึง
ทารกที่อายุในช่วง 28 วันแรกของชีวิต
เป็นระยะเริ่มต้นที่มีความสำคัญมากต่อการมีชีวิตรอด
มีอัตราการเจ็บป่วยและอัตราการตายมากสุด
จำแนกประเภท
จำแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
1.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย
(low birth weight infant)
แบ่งได้ 2 ประเภท
ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1500 g. (very low birth weight)
ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1000 g. (extreme low birth weight)
น้ำหนักน้อยกว่า 2500 g.
2.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักปกติ (normal birth weight infant)
น้ำหนัก 2500 - 4000 g.
จำแนกตามอายุครรภ์
2.ทารกแรกเกิดครบกำหนด (term or mature infant)
37 สัปดาห์ - 41 สัปดาห์
3.ทารกแรกเกิด เกินกำหนด
(post term infant)
มากกว่า 41 สัปดาห์
1.ทารกคลอดก่อนกำหนด (preterm infant)
37 สัปดาห์ / น้อยกว่า 37 สัปดาห์
สาเหตุ
มารดา
อายุ น้อยกว่า 18 ปี / มากกว่า 35 ปี
โรคประจำตัว ex.เบาหวาน ความดัน หัวใจ
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายตัวเกินไป
ติดเชื้อในร่างกาย
ดื่มสุหรา สูบบุหรี่ เสพยา
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
ลักษณะ
เปลือกตาบวม & นูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
ผิวหนังบางแดงเหี่ยวย่น , (Vernix Caseosa)
การเจริญของกระดูกหูมีน้อย
Lanugo hair
น้ำหนักน้อย รูปร่างแขน-ขา เล็ก ศีรษะใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว
กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงยังเจริญไม่ดี
periodic breathing , Apnea
reflex น้อย
ท้องป่อง กล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
อวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนังน้อย ,ความตึงตัวกล้ามเนื้อไม่ดี
การควบคุมอุณภูมิของร่างกาย
ทารกแรกเกิดไวต่ออุณหภูมิสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
การพา Convection
พาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อมที่เย็นกว่า
การแผ่รังสี Radiation
สูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่า แต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
การนำ Conduction
ผิวทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น
การระเหย evaporation
การสูญเสียความร้อนเมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้ำ
ภาวะอุณภูมิกายต่ำ (Hypothermia)
อุณภูมิต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรก
ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัว
ดูดนมช้า/ดูดนมน้อยลง/ไม่ดูดนม
มือเท้าเย็น ตัวซีด
อาเจียน ท้องอืด น้ำหนักไม่ขึ้น/น้ำหนักลด
ภาวะอุณหภูมิกายสูง (Hyperthermia)
อุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
อาจเกิดการติดเชื้อ/อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ร้อนเกินไป
อาการเริ่มแรก
เคลื่อนไหวลดลง
หายใจเร็วแรง / หยุดหายใจ
หงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น
ซึม เมื่อสัมผัสผิวหนังจะรู้สึกอุ่นกว่าปกติ
การวัดอุณหภูมิ
ทางทวารหนัก
เกิดก่อนกำหนด 3 นาที ลึก 2.5 cm.
ครบกำหนด 3 นาที ลึก 3 cm.
ทางรักแร้
ก่อนกำหนด 5 นาที
ครบกำหนด 3 นาที
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
NTE 32 - 34 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิร่างกาย 36.8 - 37.2 องศาเซลเซียส
Keep warm ระวัง Cold stress
การควบคุมอุณหภูมิกายทารกที่อยู่ในตู้อบ
เป้าหมาย
ให้อุณหภูมิทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติ
กรณีทารกอยู่ในตู้อบ
ปรับอุณหภูมิด้วยมือ
ปรับอุณภูมิตู้อบเริ่มที่ 36 องศาเซลเซียส
ปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.2 องศาเซลเซียส (max 38.0)
ติดตามอุณหภูมิร่างกายทุก 15 - 30 นาที
ถ้าวัดได้ 36.8 - 37.2 2 ครั้งติด ปรับ tem ตู้อบ ให้เป็น NTE
แล้ววัดใหม่ทุกๆ 15 - 30 นาที อีก 2 ครั้ง และต่อไปทุก 4 ชม.
กรณีทารกอยู่ในตู้อบ
ปรับอุณภูมิอัตโนมัติ
ติด skin probe บริเวณหน้าท้อง เลี่ยงบริเวณตับ และ bony prominence
ปรับอุณภูมิตู้อบเริ่มที่ 36.5 องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.1 (max 38.0)
ติดตามอุณหภูมิร่างกายทุก 15 - 30 นาที
ถ้าวัดได้ 36.8 - 37.2 2 ครั้งติด ปรับ tem ตู้อบ ให้เป็น NTE
แล้ววัดใหม่ทุกๆ 15 - 30 นาที อีก 2 ครั้ง และต่อไปทุก 4 ชม.
ระบบการไหลเวียนโลหิต
การหายใจเปลี่ยนจากรกเป็นปอด
Fetal circulation เป็น
Neonatal circulation
1.Foramen ovale ปิดสมบูรณ์
2.Ductus arteriosus จะหดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น
3.Ductus venosus ปิดเมื่อสายสะดือถูกตัดกลายเป็นเอ็นที่ตับ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
(Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
รับนมได้น้อย
ท้องอืด
หอบเหนื่อย
น้ำหนักไม่ขึ้น
หายใจเร็ว
การรักษา
1.รักษาทั่วไป ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
2.การรักษาจำเพาะ
ใช้ยา เพื่อช่วยยับยั้งการสร้าง prostaglandin
Indomethacin
ขนาดที่ให้ 0.1 - 0.2 มก./กก. ทุก 8 ชม.
ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr. นานกว่า 8 hr.
มีภาวะ NEC
Ibuprofen
ข้อห้ามใช้
BUN > 20 mg/dl , Cr > 1.6 mg/dl
การผ่าตัด PDA ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด Hyperbilirubinemia
เกิดจาก bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติ
แบ่งออก 2 ชนิด
1.ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ
Physiological jaundice
มีการสร้าง bilirubin มาก เพราะ RBC อายุสั้นกว่า และความไม่สมบูรณ์ในการทำงาน
ของตับทำให้กระบวนการขับ bilirubin ออก ทำได้ช้า
พบใน 2 - 4 วัน หลังคลอด และหายไปเองใน 1 - 2 สัปดาห์
2.ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ Pathological jaundice
ทารกมี bilirubin ในเลือดสูงมากกว่าปกติ และเหลืองเร็วภายใน 24 hr.แรกหลังคลอด
สาเหตุ
2.มีการดูดซึม bilirubin จากลำไส้มากขึ้น จากภาวะต่างๆ
3.มีการกำจัด bilirubin ได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอนไซม์บางชนิดตั้งแต่กำเนิด
1.มีการสร้าง bilirubin เพิ่มขึ้นกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
4.สร้าง Bilirubin เพิ่มขึ้นแต่กำจัดได้น้อยลง เช่น การติดเชื้อ
5.มีการดูดซึม bilirubin จากลำไส้มากขึ้น จากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ระดับ Bilirubin ในเลือดสูง จะทำให้เข้าไปจับกับเนื้อสมองด้านในทำให้เกิดอาการผิดปกติทางสมองเรียกว่า Kernicterus
อาการ
ระยะแรก
ซึม ดูดนมน้อยลง
ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น
ชัก มีไข้
ระยะยาว
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขา
มีความผิดปกติของการได้ยินและการเคลื่อนไหวของลูกตา
พัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง
การวินิจฉัย
3.ตรวจ LAB
CBC, Coombs'test, LFT, G6PD
2.การตรวจร่างกาย
ซีด เหลือง ตับ/ม้ามโต
มีจุดเลือดออกบริเวณใดหรือไม่
1.การซักประวัติ
ครอบครับมีคนเป็นโรคที่เม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
โรคประจำตัวมารดา,ได้รับยาติดเชื้อ ระหว่างตั้งครรภ์
ประวัติการคลอด, Apgar score
การรักษา
1.การส่องไฟ phototherapy
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วย eye patches เพื่อป้องกันการระคายเคืองของแสงต่อตา
เช็ดทำความสะอาก & ตา ทารกทุกวัน
เปิดตาทารกทุก 4 ชม. เปลี่ยนผ้าปิดตาทุก 8 - 12 ชม.
ถอดเสื้อผ้าทารกออก จัดท่านอนหงาย/นอนคว่ำ และเปลี่ยนท่าทุก 2 - 4 ชม.
ดูแลให้ทารกนอนอยู่บริเวณตรงกลางของแสงหลอดไฟ ห่างประมาณ 35 - 50 ซม.
บันทึก และรายงาน V/S ทุก 1 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ บันทึกลักษณะและจำนวน เพื่อประเมินภาวะการสูญเสียน้ำ
ตรวจเลือดหาระดับ Bilirubin ทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อน
Retinal damage
Bronze baby /tanning
Diarrhea
Disturb of mother-infant interaction
Increased water loss / dehydration
Thermodynamic unstable
Increases metabolic rate
non-specific erythrematous rash
2.การเปลี่ยนถ่ายเลือด exchange transfusion
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
บันทึกปริมาณเลือดเข้า-ออก และ V/S
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
อธิบายให้บิดา-มารดาทราบ
หลังเปลี่ยนถ่ายเลือด สังเกต V/S ทุก 15 นาที และ ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
Respiratory Distress Syndrome
(RDS)
กลุ่มภาวะหายใจลำบาก
ปัจจัยเสี่ยง
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีภาวะ Hypothermia , Perinatal asphyxia
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
สาเหตุ
โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
เกิดจากการขาดสารลดแนงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
การป้องกัน
1.มารดาที่คลอดก่อนกำหนดแต่ ยังไม่ MR ควรได้
antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชม.ก่อนคลอด
Betamethazone 12 mg ทาง muscle ทุก 24 hr. จนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 mg ทางกล้ามเนื้อ ทุก 12 hr. จนครบ 2 ครั้ง
2.ป้องกันไม่ให้ทารกขาดภาวะออกซิเจนในระยะแรกเกิด
อาการและอาการแสดง
ระบบทางเดินอาหาร
ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
ระบบประสาท
ซึม, กระสับกระส่าย, Reflex ลดลง, กระหม่อมโปร่งตึง
ระบบทรวงอก
retraction
ระบบผิวหนัง
ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
ระบบไหลเวียนโลหิต
tachypnea / dypsnea
หายใจหน้าท้องและหน้าอกไม่สัมพันธ์กัน
expiratory grunting
ซีด BP drop
เมตาบอลิซึม
Hypoglecemia , acidosis
การรักษา
ให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารกและระวังภาวะแทรกซ้อนขณะให้ออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
Perinatal asphyxia
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
ประกอบด้วย
hypercapnia
เลือดเป็นกรด
hypoxemia
สาเหตุ
ปัจจัยเกี่ยวข้องกับมารดา
ตกเลือด , อายุมาก , เบาหวาน ,รกเกาะต่ำ
ครรภ์เป็นพิษ, BP drop
ปัจจัยเกี่ยวข้องกับทารก
คลอดก่อนกำหนด,เจริญเติบโตช้าในครรภ์
ติดเชื้อในครรภ์ , พิการโดยกำเนิด
ปัจจัยเกี่ยวข้องกับการคลอด
คลอดติดไหล่ / ศีรษะไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน
สายสะดือผิดปกติ,การคลอดโดยหัตถการที่ลำบาก
ผลของการขาดออกซิเจนตอนแรกคลอด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นช้าลง อาจวายได้, ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ระบบหายใจ
ถูกกดการหายใจ หายใจช้า / ไม่หายใจ
ปอดคั่งน้ำ
ระบบประสาทกลาง
เลือดออกในสมองได้
ชักจาก cortex ของสมองถูกทำลาย
สมองบวม
ระบบการขับถ่าย
เนื้อไตเกิดตายเฉียบพลัน ทำให้ปัสสาวะอาจเป็นเลือด/ ไม่ปัสสาวะ/ปัสสาวะลดลง
ระบบทางเดินอาหาร
Bilirubin ในเลือดสูง
การรักษาประคับประคองและตามอาการ
5.ให้เลือด ถ้าเลือดมี คขข.ต่ำ
8.ระวังภาวะแทรกซ้อน
4.งดอาหารทางปาก ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
7.พิจราณาให้ยาปฏิชีวนะ
3.ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
6.หลัง 12 ชม.ระวังอาการชัก
2.ให้ความอบอุ่นให้อุณหภูมิทารกปกติ
1.สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
Apnea of prematurity
(AOP)
หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาทีร่วมกับ cyanosis
central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก / กระบังลม
ไม่มีอากาศผ่านรูจมูก
ศูนย์การหายใจก้านสมองทำงานไม่ดี
obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก / กระบังลม แต่ไม่มีอากาศผ่านรูจมูก
เกิดจากการงอ / เหยียดลำคอมากเกิน
สาเหตุ
3.metabolic disorder
4.Impaired oxygenation
2.infection
5.CNS problem
1.prematurity
6.drug
7.Gastroesophageal reflux
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ระวังการสำลัก
จัดท่านอนที่เหมาะสม
ภาวะแทรกซ้อน
จากการได้รับออกซิเจน
1.เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
2.โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
3.จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
ทารกคลอดกำหนด
การสร้าง IgM ไม่สมบูรณ์ และ ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
WBC มีน้อยจึง phagocytosis ไม่สมบูรณ์
epidermis & dermis ยึดกันหลวมจึงถูกทำลายได้ง่าย
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Early onset Sepsis
ติดเชื้อในระยะก่อน / ระหว่างคลอด แสดงอาการภายใน 2 - 3 วัน แรกหลังคลอด
Late onset Sepsis
ติดเชื้อแสดงอาการหลังคลอด 72 ชั่วโมง - 1 เดือน
สาเหตุ
มารดามีการติดเชื้อ , น้ำคร่ำมีกลิ่น
เชื้อ Group B streptococci แกรมลบ E.coli Klebsiella
preterm, MR นานกว่า 18 ชม., คลอดล่าช้า
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์
ไข้ ผื่น ต่อมน้ำเหลืองโต สัมผัสผู้ป่วยติดเชื้อ
ตรวจร่างกาย
ตรวจ LAB
Culture 24 - 48 hr.
CBC , ESR
CPR ,CXR
อาการและอาการแสดง
ซึม, ร้องนาน, ไม่ดูดนม, ซีด
motting , ผิวหนังเย็น
หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ท้องอืด อาเจียน สั่น ชัก
การรักษา
ส่วนมากให้ ampicillin iv กับ Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลนิยมกลุ่ม Cephalosporins iv
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
การพยาบาล
2.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
3.ควบคุม Body tem. ให้ปกติ
1.ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย
4.ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
5.ติดตามผล Lab
6.แยกทารก
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis
(NEC)
คือภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
เป็นภาะวะที่เนื้อเยื่อของระบบ
ทางเดินอาหารตายจากการอักเสบ
เกิดบริเวณลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ในทารกที่น้ำหนักน้อย
สาเหตุ
คลอดก่อนกำหนด
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์
การเริ่มรับนมและเพิ่มปริมาณนมอย่างรวดเร็ว
ภาวะขาดออกซิเจน
ปัจจัยเสี่ยง
ให้นมผสมเข้มข้นสูงผ่านทางเดินอาหาร
การใส่สายสวน หลอดเลือด ทางสะดือ
ความพิการของหัวใจแต่กำเนิด
มีพยาธิสภาพจากปัญหาใดปัญหานึง ทำให้เกิดลำไส้อักเสบ
อาการ
ทั่วไป
เซื่องซึม, ดูดนมไม่ดี, ตัวเหลือง, ร้องกวน
อุณหภูมิกายต่ำ, หยุดหายใจ, หัวใจเต้นช้า
มีภาวะกรดเกิน, โซเดียมต่ำ, ออกซิเจนต่ำ
โดยเฉพาะ
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร, มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร
อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ท้องอืด,ถ่ายอุจจาระเหลว,อาเจียนเป็นสีน้ำดี
การวินิจฉัย
X-Ray ด้านข้าง
ตรวจช่องท้องด้วยคลื่นความถี่สูง
X-Ray ช่องท้องเพื่อสังเกตเงาลมแทรกในผนังลำไส้
เพาะตัวอย่างเลือด
การรักษา
NPO
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือด
Vasopressor
เฝ้าติดตาม V/S, ปริมาณปัสสาวะ, การแข็งตัวของเลือด,
การเปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
โดยการผ่าตัด
1.ผ่าตัดแบบสำรวจช่องท้อง
2.การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemia
ระดับน้ำตาลในเลือด
ต่ำกว่า 40 % (term)
ต่ำกว่า 30 % (preterm)
อาการ
ซึม,ไม่ดูดนม , มีสะดุ้งผวา, สั่น ,ซีด/เขียว
หยุดหายใจ,ตัวอ่อนปวกเปียก,อุณหภูมิกายต่ำ,ชักกระตุก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อย จึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
มีภาวะเครียดขณะอยู่ในครรภ์/ขณะคลอด/หลังคลอด
การดูแล
ทารกมีอาการ ร่วมกับน้ำตาลน้อยกว่า 40 mg/dl.
ให้ 10 %DW IV
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด - อายุ 4 ชั่วโมง
ให้นมใน 1 ชม.แรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นม
ระดับน้ำตาล < 25 mg/dl
ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชม.
ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ระดับน้ำตาล 25 - 40 mg/dl
ให้นม/สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
อายุ 4 - 24 ชั่วโมง
ให้นมทุก 2 - 3 ชม. ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
ระดับน้ำตาล < 35 mg/dl
ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชม.
ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ระดับน้ำตาล 35 - 45 mg/dl
ให้นม/สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
Meconium aspiration syndrome
(MAS)
ภาวะที่ทารกในครรภ์สูด / สำลัก/ หายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลม/ปอด/ทารกหายใจลำบาก
ประเมิน Vigorous
10 - 15 วินาที หลังเกิด
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
HR > 100 / min
มีแรงหายใขด้วยตนเอง
หากขาดอย่างใดอย่างนึง = non vigorous
ทารกที่ non vigorous เสี่ยงต่อการสำลักขี้เทา
สาเหตุ
ด้านมารดา
BP สูงขณะตั้งครรภ์
รกเกาะต่ำ/รกลอกตัวก่อนกำหนด
อายุครรภ์ > 42 wks
น้ำคร่ำน้อยผิดปกติ
ถุงน้ำคร่ำอักเสบ น้ำคร่ำรั่วนานกว่า 18 ชม.
การใช้สารเสพติด
ด้านทารก
ทารกมีภาวะเครียด
การถ่ายขี้เทามาปนในน้ำคร่ำขณะทารกอยู่ในครรภ์ มี 2 ลักษณะ
1.ลักษณะพยาธิสรีรปกติ
ทารกในครรภ์อายุเกินกำหนด
2.ลักษณะพยาธิสภาพของรกและทารกในครรภ์ผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงน้อย
หายใจเร็วระยะสั้น 24 - 72 ชม.
ทำให้แรงดันลดลง ความเป็นกรด-ด่างปกติ
อาการรุนแรงปานกลาง
หายใจรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของซี่โครง รุนแรงสูงสุดเมื่อ 24 hr.
อาการรุนแรงมาก
ระบบหายใจล้มเหลวทันที / ภายใน 2- 3 ชม.หลังเกิด
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
น้ำคร่ำมีตะกอนขี้เทา ร่างกายทารกมีขี้เทาติด ฟังเสียงปอดไม่ได้ยินเสียงอากาศผ่าน
ภาพถ่ายรังสี
alveolar infiltration hyperaeration atelectasis
อาการแสดง
หายใจลำบาก ทรวงอกโป่ง
ABG
ภาวะเลือดเป็นกรด ,พร่องออกซิเจน
การรักษา
3.ใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด ในภาวะความดันในปอดสูง
4.ให้ยาปฏิชีวนะ ในรายที่ระบบหายใจล้มเหลว
2.ให้ยาตามอาหาร งดการใช้ออกซิเจนร่างกาย
5.ระวังภาวะแทรกซ้อน
1.ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การพยาบาล
เป้าหมายสำคัญคือให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ และระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน สังเกตอาการขาดออกซิเจน
วัด BP ทุก 2 - 4 ชม. ระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
นางสาวภัชราภรณ์ หนูรอด
เลขที่ 65 (62111301067)
ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 37