Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ไฟฟ้าช็อต และสารเคมี, 72…
4.2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ไฟฟ้าช็อต และสารเคมี
แผลไหม้(Burns) หมายถึง แผลประเภทหนึ่งที่ผิวหนังถูกเผาไหม้ หรือเนื้อเยื่อมีการเปลี่ยนแปลงถูกทำลายจากการสัมผัสกับความร้อน สารเคมีกระแสไฟฟ้า หรือรังสีมากเกินไป
สาเหตุ
ความร้อน (thermal injury) โดยเฉพาะความร้อนที่มีอุณหภูมิมากกว่า 44 องศาเซลเซียสขึ้นไป ซึ่งสาเหตุมาจากความร้อนแบ่งออกเป็น
1.1 ของเหลวลวก (scald) เป็นลักษณะความร้อนแบบเปียก (wet heat) เช่น น้ำร้อน ไอน้ำร้อน
1.2 ไฟหรือเปลวไฟ (flame or flash) เป็นลักษณะความร้อนแบบแห้ง (dry heat) เช่น เปลวไฟต่าง ๆ วัตถุความร้อน
กระแสไฟฟ้า (electrical injury) มักเกิดจากไฟฟ้าแรงสูง
สารเคมี(chemical) เช่น กรดแก่ด่างแก่ มักพบในผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีในห้องปฏิบัติการ โรงงาน
รังสี(radiation) เช่น สารกัมมันตรังสีจากการรักษา อุบัติเหตุจากรังสีระเบิดปรมาณ
ความเย็น (cold injury) ความเย็นทำให้เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังถูกทำลายได
ความรุนแรงของแผลไหม
ขนาดของแผล
ความลึกของแผล
อายุผู้ป่วยต่ำกว่า 2 ปีมากกว่า 60 ปี
ส่วนของร่างกายที่เกดจากไฟไหม้
การได้รับการบาดเจ็บอื่นๆร่วมด้วย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การประเมินขนาดของแผลไหม้
การประเมินความลึกของแผลไหม้
แผลไหม้ความลึกระดับที่หนึ่ง (First degree burns) เป็นการบาดเจ็บแบบตื้นลักษณะบาดแผลจะเห็นเป็นสีแดง ๆ
แผลไหม้ความลึกระดับที่สอง (Second degree Burns)
2.1 แผลไหม้ความลึกระดับที่สองแบบตื้น (superficial second degree Burns) มีการบาดเจ็บของหนังกำพร้าและหนังแท้ เป็นถุงน้ำใสๆ
2.2 แผลไหม้ความลึกระดับที่สองแบบลึก (deep second degree Burns) มีการบาดเจ็บของหนังกำพร้าและเกือบทั้งหมดของหนังแท้ลักษณะสีแดงเข้มหรือเหลืองซีด
แผลไหม้ความลึกระดับที่สาม (Third degree burns) สาเหตุมักเกิดจากการสัมผัสความร้อนเป็นเวลานานๆกิดลักษณะที่เรียกว่า eschar
การรักษาแผลไหม้
สามารถทำได้โดยการล้างแผลไหม้ ร่วมกับการกำจัดเนื้อตาย การใช้ยาปฏิชีวนะ
การทำแผล และการปลูกถ่ายผิวหนังทดแทน การป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น การติดเชื้อที่แผลไฟไหม้
การพยาบาลผู้ที่มีบาดแผล ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ไฟฟ้าช๊อต และสารเคมี
การพยาบาลผู้ป่วยแผลไฟไหม้แบ่งเป็น 3 ระยะคือ ระยะฉุกเฉิน ระยะวิกฤต และระยะฟื้นฟูสภาพ
การพยาบาลระยะฉุกเฉินหรือระยะกู้ชีพ
4) ซักประวัติจากผู้ป่วยและญาติโดยข้อมูลที่ซักถามให้ครอบคลุมถึงข้อมูลดังต่อไปนี้
4.1) สาเหตุของการเกิดเพลิงไหม้บริเวณที่เกิดเหตุเป็นพื้นที่ปิดหรือเปิดในกรณีที่อาจมีการสูดสำลักควันร่วมด้วย
4.2) ประวัติการเจ็บป่วยและประวัติการได้รับยาหรือดื่มสุรา รวมถึงการได้รับภูมิคุ้มกันบาดทะยัก
4.3) เวลาที่เกิดเหตุเพื่อประกอบการพิจารณาให้สารน้ำ ต้องนับตั้งแต่เวลาเกิดเหต
5) ประเมินการบาดเจ็บอื่น ๆ ดังต่อไปนี้
5.2) ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยทันทีไว้เป็นน้ำหนักมาตรฐานของผู้ป่วยในการให้สารน้ำ
5.1) ประเมินสภาพแผลไหม้คำนวณความกว้างความลึกของแผลไหม
5.3) เปิดเส้นทางหลอดเลือดดำเพื่อให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำอย่างน้อย 2 เส้น ด้วยเข็มเบอร์ใหญ
3) หยุดกระบวนการเผาไหม้ที่ยังหลงเหลืออยู่
6) เก็บเลือดเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2) ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
7) ใส่สายสวนปัสสาวะเพื่อติดตามบันทึกจำนวนปัสสาวะและส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ประเมินและช่วยเหลือเบื้องต้นตามหลัก ABCDE
8) ใส่ Ng tube เพื่อประเมินการทำงานของกระเพาะอาหาร และเตรียมให้อาหารทางสายยาง
9) ส่งตรวจภาพรังสีทรวงอกเพื่อเป็นพื้นฐานในการวินิจฉัยแยกปัญหาทางปอด
การพยาบาลระยะวิกฤต
ระยะนี้เป็นช่วงที่ผู้ป่วยคนระยะ Shock น้ำที่อยู่ในเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์จะซึมกลับเข้าสู่หลอดเลือด
การป้องกันแผลติดเชื้อได้ดีการพยาบาลในระยะ
การทำแผลต้องยึดหลักการปราศจากเชื้อ
การให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การให้อาหาร โดยเน้นอาหารที่มีโปรตีนสูงเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น การผิดรูปของอวัยวะ
ความสะอาดทั่วไปของร่างกาย ควรตัดเล็บให้สั้น ห้ามแกะเกาแผล
ด้านจิตใจ ผู้ป่วยบางรายมีความเจ็บปวดและหวาดกลัวในการทำแผล
การปลูกถ่ายผิวหนังเป็นการรักษาขั้นสุดท้ายโดยเฉพาะในแผลไหม้ระดับที่ 3
Split-thickness skin graft (STSG) เป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุด จะใช้ผิวหนังชั้นหนังกำพร้าและชั้นบนของหนังแท้ความหนาประมาณ 00.006 - 0.016 นิ้ว วางบนแผลแล้วยึดให้ติดทั่วแผลโดยใช้ลวดเย็บ
Full-thickness graft (FTG) ใช้ผิวหนังชั้นหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด หนาประมาณ 0.035-0.040 นิ้ว ซึ่งจะรวมรูขุมขน ต่อมเหงื่อและต่อมไขมันด้วย
72 ชั่วโมงภายหลังการบาดเจ็บโดยเฉพาะ 48 ชั่วโมงแรกของการบาดเจ็บ