Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ - Coggle Diagram
4.1 การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
การประเมินผู้ป่วยจมน้ำ
การอุดกั้นระบบทางเดินหายใจจากการจุ่มหรือจมลงในของเหลว
จมน้ำเสียชีวิต (fatal drowning)
จมน้ำแบบไม่เสียชีวิต (nonfatal drowning)
การจมน้ำจืด น้ำจืดจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด(พลาสมา) ดังนั้น ถ้ามีน้ำอยู่ในปอดจำนวนมากก็จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทันที ทำให้ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม (hypervolemia) มีผลทำให้ระดับเกลือแร่ (เช่น โซเดียม โพแทสเซียม) ในเลือดลดลง ซึ่งอาจทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจวายได้ นอกจากนี้ ยัง
อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis) ได
น้ำทะเลจะมีความเข้มข้นมากกว่าเลือด น้ำทะเลที่สำลักอยู่ในปอดจะดูดซึมน้ำเลือด (พลาสมา) จากกระแสเลือดเข้าไปในปอด ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ(pulmonary edema) ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง (hypovolemic) และระดับเกลือแร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวายหรือเกิดภาวะช็อกได้แ
อาการ
อาการหมดสติ และหยุดหายใจ บางคนหัวใจอาจหยุดเต้น (คลำชีพจรไม่ได้)
ถ้าไม่ถึงกับหมดสติ ก็อาจมีอาการปวดศีรษะ เจ็บหน้าอก อาเจียน กระวนกระวาย หรือไอมีฟองเลือด
การประเมินผู้จมน้ำ
A = Airway maintenance and Cervical spine protection ประเมินทางเดินหายใจจากการพูดคุย และเสียงหายใจ หากผู้จมน้ำสามารถพูดได้หรือหายใจได้ แสดงว่าทางเดินหายใจเปิด
D = Disability ประเมินระดับความรู้สึกตัว โดยใช้Glasgow Coma Scale (GCS) ในการประเมิน
C = Circulation จับชีพจร วัดความดันโลหิต ดูการไหลเวียนเลือดส่วนปลายจากการประเมิน O2 sat
E = Environment, Exposure ตรวจสอบการสัมผัสต่อสภาพแวดล้อมปกป้องต่อสภาพแวดล้อมที่รุนแเปิดเผยผิวหนังให้ประเมินและดูแลแผล ปกปิดผิวหนังภายหลังการประเมินและดูแลแผล
อุณหภูมิ
T 25 - 21 องศา หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
T 28 - 25 องศา หมดสติ หัวใจเต้นผิดปกติ
T 32 - 28 องศา เกร็ง หัวใจเต้นช้า หายใจช้า
T 35 - 32 องศา สับสน หัวใจเต้นเร็ว
T 37 - 35 องศา หนาวสั่น ทรงตัวไม่อยู่
B = Breathing ดูอัตราการหายใจ ฟังเสียงผิดปกติซึ่งอาจพบเสียงมีน้ำอยู่ในช่องปอด
Hypotonic solution ได้แก่การจมน้ำจืด Pulmonary edema ในน้ำจืด การสูดสำลักน้ำจืดทำให้ surface tension ลดลง เกิดภาวะ Atelectasis เกิดภาวะ hypoxia หากเกิดภาวะ pneumonitis จะเกิดภาวะ Hypoxia ตามมา
Hypertonic solution ได้แก่การจมน้ำทะเล Pulmonary edema ในน้ำเค็ม ทำให้เกิดภาวะ hypoxia จากถุงลมปอดแตก (rupture alveoli) เกิด pulmonary damage เกิด lung compliance ลดลง และpneumonitis
การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
ถ้าคลำชีพจรไม่ได้ให้ช่วยนวดหัวใจทันที
ถ้าหายใจเองได้ จับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง ศีรษะหงายไปข้างหน้าคลุมผ้าให้ร่างกายอบอุ่น
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจช่วยหายใจก่อนโดยการเป่าปาก
กรณคนจมน้ำรู้สึกตัวดี
ุ5. แนะนำให้ผู้ป่วยไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจความละเอียด