Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acquired Immune Deficiency Syndrome: AIDS, นางสาวนวลพรรณ จุลรัตน์ เลขที่41…
Acquired Immune Deficiency Syndrome: AIDS
การติดต่อของโรค
ทางเพศสัมพันธ์ ทางเลือด และการใช้เข้มฉีดยาร่วมกัน
สามารถตรวจพบในนํ้าอสุจิ สารคัดหลังจากช่องคลอด น้ำนมและน้ำไขสันหลัง
ในกลุ่มชายรักร่วมเพศมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อมากกว่ากลุ่มอื่น
ลักษณะเด่นของเชื้อคือจะเข้าไแทำลาย CD4 + Helper T lymphocyte ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
lymphocyte ทําให้เซลล์ถูกทําลายและมีจํานวนลดลงจน
ระยะของการติดเชื้อ HIV
ระยะแรกเริ่มของการติดเชื้อ HIV ในช่วงแรกที่ติดเชื้อปริมาณไม่มาก และยังไม่ได้สร้างภูมิต้านทานขึ้นมาอาจยังตรวจหาเชื้อหรือภูมิต้านทานต่อเชื้อไม่พบ
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ผู้ติดเชื้อมักจะแข็งแรงเป็นปกติเหมือนคนทั่วไป แต่เมื่อตรวจเลือดจะพบเชื้อ HIV และสารภูมิคุ้มกันต่อเชื้อชนิดนี้ จึงสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ เรียกว่าเป็นพาหะ (Carrier)
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ ผู้ป่วยจะมีอาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระบบภูมิคุ้มกันโรค
ระยะป่วยเป็นเอดส์ (เอดส์เต็มขั้น) ระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันโรคของผู้ป่วยเสื่อมเต็มที่ ถ้าตรวจระดับ CD4 จะพบว่ามักมีจำนวนต่ำกว่า 200 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร เป็นผลทำให้เชื้อโรคต่าง ๆ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตซัว วัณโรค ฉวยโอกาสเข้ารุมเร้าเรียกว่า โรคติดเชื้อฉวยโอกาส
อาการของโรคเอดส์
ปอดอักเสบ
สูญเสียความจำ อาการซึมเศร้าและอาการทางระบบประสาทอื่นๆ
ท้องเสียเรื้อรังนานกว่าหนึ่งสัปดาห์
เหนื่อยผิดปกติ
อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้ำๆ
เหงื่อออกตอนกลางคืน
น้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว
มีผื่นตามผิวหนัง ในช่องปาก จมูกและเปลือกตา
แผลที่ริมฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการบวมที่ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ รักแร้และขาหนีบ
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
ติดเชื้อ Human Immunodeficiency Virus
การติดเชื้อที่ T-helper cell (T4 lymphocyte), Macrophage
CD4+T helper cell ทําหน้าที่ควบคุมการทํางานของเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกน มีจํานวนเฉลี่ยประมาณ 500-1,600 เซลล์/ลบ.มม.ถ้า CD4+T helper cell น้อยกว่า200 เซลล์/ลบ.มม. ถือวาเป็นระดับที่ตํ่าเป็ นอันตรายทําให้เกิดการติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่าย
ปัจจัยที่ทําให้มีโอกาสติดเชื้้อเอดส์ได้แก่ การมีบาดแผล สุขภาพของผู้รับเชื้อ จำนวนครั้งที่ได้รับ
พยาธิสภาพและอาการทางคลินิก
Acute HIV infection (2-3 สัปดาห์หลังรับเชื้อก่อนที่จะสร้าง Antibody มีไข้และหายเอง2-3สัปดาห์
Persistent generalized lymphadenopathy (ต่อมน้ำเหลืองโตมากกว่า2ตำแหน่ง)นานกว่า3เดือน
Progression to AIDS (ตรวจพบ Viral antigen และ antibody ภายใน 6 เดือน-10ปีโดยไม่มีอาการ)
Opportunistic Infection (มีการติดเชื้อฉวยโอกาสในหลายอวัยวะ
Opportunistic Infection
ปอด
ระบบประสาท
ทางเดินอาหาร
ผิวหนัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จํานวนเม็ดเลือดขาวทั้งหมดลดลง
จํานวนและร้อยละของ lymphocyte ลดลง
สัดส่วนของ CD4+/CD8+ เปลี่ยนแปลงอยางชัดเจน (ปกติ 2.0 เหลือ 0.5)
การตรวจนับ CD4+T helper cellลดลง(CD4+ < 500 เซลล์/uL)
ระดับ Ig เพิ่มขึ้น
การตรวจหาเชื้อ
การตรวจขั้นต้น (Screening Test): ELISA Test
การตรวจยืนยัน (Confirmatory Test):
WESTERN BLOT
POLYMERASE CHAIN REACTION (PCR)
Agglutination Test
การรักษารรักษาด้วยยาต้านเอชไอวีเท่านั้น เนื่องจากเป็นวิธีการรักษาที่ได้ผลดีที่สุด โดยผู้ติดเชื้อจะได้รับยาต้านเอชไอวีอย่างน้อย 3 ชนิดร่วมกันเป็นสูตรยา แต่มีหลักการรักษา คือ ผู้ติดเชื้อต้องกินยาให้ตรงเวลาทุกวันต่อเนื่องตลอดชีวิต เพราะยาจะไปทำการยับยั้งการแบ่งตัวและการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัส ถ้าหยุดกินเมื่อไหร่ก็จะทำให้เชื้อไวรัสแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและแพร่กระจาย
นางสาวนวลพรรณ จุลรัตน์ เลขที่41
รหัสนักศึกษา 62121301041