Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาว กาญจนา คนหลัก 62111301007 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 2…
นางสาว กาญจนา คนหลัก 62111301007
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 2 รุ่น 37
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
จำแนกทารกแรกเกิด
ตามน้ำหนัก
LBW infant
Very low birth weight
น้ำหนักน้อยกว่า 1,500กรัม
Extremely
low birth weight (ELBW)
น้ำหนักน้อยกว่า1,000กรัม
NBW infant
ทารกแรกเกิดหนัก 2,500 กรัม ถึงประมาณ3,800 – 4,000 กรัม(Neonatal period)
ตามอายุครรภ์
Preterm infant(เกิดก่อนกำหนด) คือ ทารกแรกเกิดอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
Term or mature infant(ครบกำหนด คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภมากกว่า 37สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
Posterm infant(เกิดหลังกำหนด) ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
สาเหตุ
มารดา
ความดันโลหิตสูง รกลอกตัวก่อนกำหนด แท้งไตรมาส1,เลือดออกไตรมาส2/3
เบาหวาน,หัวใจ,ไต,ติดเชื้อ
+
ครรภ์แฝด , ติดสารเสพติด
ฐานะไม่ดี,อายุ<16หรือ>35
ทารก
โครโมโซม
ติดเชื้อ
ลักษณะทารกก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อย/เรียบ,เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
กล้ามเนื้อและไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
หายใจไม่สม่ำเสมอ ร้องเบา หัวนมเล็ก ท้องป่อง
อวัยวะเพศเล็ก เพศชายอัณฑะไม่ลงถุง รอยย่นถุงน้อย เพศหญิงเห็นแคมเล็กชัด
ปัญหาทารกคลอดก่อนก่อนกำหนด
การความคุมอุณหภูมิ
Hypothermia (< 36.5 องศาเซลเซียส) (อัตราการตายเพิ่มขึ้น)
การเพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
น้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)
ภาวะขาดน้ำ(Dehydration)
น้ำหนักลด (Poor Weight Gain)
ภาวะล้าไส้เน่า (NEC)
ภาวะหยุดหายใจ(Apnea)
ภาวะเลือดออก (Bleeding Disorder)
การวัดอุณหภูมิทารก
ทวาร
ก่อนกำหนด วัดนาน 3น. ลึก 2.5 ซม.
ครบกำหนด วัดนาน 3น. ลึก 3.0 ซม.
รักแร้
ก่อนกำหนด วัดนาน 5 น.
ครบกำหนด วัดนาน 8น.
การดูแล
อุณหภูมิเหมาะสม 32-34 องศาเซลเซียส
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
เลี่ยงใกล้แอร์ พัดลม ระวัง“Cold stress”
การดูแลในตู้อบ
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น
ป้องกันการสูญเสียความร้อนร่างกาย4ทาง
ตรวจอุณหภูมิทุก4ชม.และปรับให้เหมาะกับทารก
ทำความสะอาดตู้ทุกวัน
ปรับอุณหภูมิ เริ่มที่ 36 และปรับเพิ่มครั้งละ 0.2 ทุก 10-15 นาที(สุด 38)
ใส่ปรอทสำหรับวัดอุณหภูมิในตู้อบ
ทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
APGAR Score
0 คะแนน
ลักษณะสีผิว ตัวเขียวคล้ำ ซีด
(Pluse/Heart rate) ไม่มี
+
สีหน้าเมื่อถูกกระตุ้น ไม่มีการตอบสนอง
(Activity/Muscle tone) อ่อนปวกเปียก
การหายใจ- ไม่หายใจ
1 คะแนน
ลักษณะสีผิว เขียวปลายมือปลายเท้า
(Pluse/Heart rate) น้อยกว่า 100ครั้ง/นาที
สีหน้าเมื่อถูกกระตุ้น -หน้าเบะ/เคลื่อนไหวเล็กน้อย
(Activity/Muscle tone)-งอแขนขาบ้าง
การหายใจ-ช้าไม่สม่ำเสมอ
2 คะแนน
กษณะสีผิว-สีชมพู
(Pluse/Heart rate) มากกว่า 100ครั้ง/นาที
สีหน้าเมื่อถูกกระตุ้น -ร้องเสียงดัง
(Activity/Muscle tone)-เคลื่อนไหวดี
การหายใจ-ดี ร้องดัง
Severe asphyxia 0-2
Moderate asphyxia3-4
Mild asphyxia 5-7
No asphyxia8-10
RDS
หายใจลำบากจากขาดสารลดแรงตึงผิวของถุงลม
หายใจมีเสียง Grunting
ถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
อาการเขียว ,เลือดเป็นกรด
การป้องกัน
กระตุ้นให้เกิดสารลดแรงตึงผิว ในมารดาเสี่ยงคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
ป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
รักษาสมดุลน้ำ อิเลคโตรไลท์สมดุลกรด ด่างในเลือด
รักษาระดับฮีโมโกลบินในเลือดและความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่สงสัยว่ามีการติดเชื้ออร่วมด้วย
การติดเชื้อ
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
ระบบหัวใจ,เลือด
การรักษา
ให้ยาibuprofen
ยับยั้งการสร้างprostaglandinทำให้ PDA ปิด
ทุก 12-24 ชั่วโมง จำนวน 3-4 ครั้ง
ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10 วัน
เลือดออกในช่องสมอง
IVH (Intra-ventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
โภชนาการ
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
gavage feeding
IVF ให้ได้ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะ NEC: observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ประเมินการติบโตชั่งน้ำหนักทุกวัน
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิอยู่ในระดับปกติ
จัดให้อยู่ในอุณหภูมิที่ทำให้ทารกใช้ออกซิเจนและสารอาหารน้อยที่สุด
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทั้ง 4 ทาง
ประเมินอุณหภูมิตามอาการทารก
ให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ประเมินการหายใจการใช้แรง retraction
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะ(ถ้ามี)
กระตุ้นเมื่อทารกกลั้นหายใจ และรายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับยาและออกซิเจนตามแผนการรักษา
ให้ความอบอุ่นทารก ไม่จับทารกเกินความจำเป็น
การให้สารน้ำ/อาหารเพียงพอ
งดน้ำ/อาหารและให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้อาหารทางปากเมื่อแพทย์พิจราณาเริ่มให้ทางปากเริ่มจากทีละน้อยๆ
ส่งเสริมให้ทารกได้รับนมจากมารดา เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ประเมินความสามารถในการได้รับนมของทารก
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
ป้องกัน/หลีกเลี่ยงให้ทารกใช้พลังงานมากกว่าปกติ
การป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อน-หลังให้การพยาบาล
เครื่องมืออุปกรณ์ผ่านการฆ่าเชื้อ ใช้เฉพาะตน
ดูแลความสะอาดทั่วไป/สิ่งแวดล้อม
ป้องกัน/เลี่ยงปัจจัยทำให้ติดเชื้อ
ป้องกันน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ทารกได้รับน้ำ,นมทางปาก สารอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ป้องกันสาเหตุน้ำตาลในเลือดต่ำเช่น หายใจลำบาก,อุณหภูมิร่างกายต่ำ
ติดตามผลDTX,blood sugar ประเมินอาการทางคลินิก
Hyperbilirubinemia
1.ตัวเหลืองจากสรีรภาวะ จาการสร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่ จากเม็ดเลือดแดงอายุสั้น พบวันที่2-4หลังคลอด 1-2สัปดาห์หายไปเอง
2.ตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ จากบิลิรูบินสูงกว่าปกติ สาเหตุจากการดูดซึมบิลิรูบินลำไส้เพิ่มขึ้น , ตับไตจับกินบิลิรูบินน้อยลงจากภาวะต่างๆ หรือการสร้างบิลิรูบินมากกว่าปกติ
การพยาบาล
สังเกตลักษณะอุจจาระระหว่างการส่องไฟ
ดูแลให้ทารกได้ตรวจเลือดหาบิลิรูบินอย่างน้อยทุก12 ชม. เพื่อตรวจความก้าวหน้าของโรค
สังเกตอาการภาวะแทรกซ้อนหลังการส่องไฟรักษา
คำศัพท์
RDS = Respiratory distress syndrome
NEC =Necrotizing enterocolitis
ROP = Retinopathy of prematurity
BPD =Broncho pulmonary dysplasia
MAS = meconium aspiration syndrome การสูดสำลักขี้เทาในทารกแรกเกิด
MSAF = ภาวะขี้เทาปนในน้ำคร่ำmeconium stained amniotic fluid
PPHN =persistent pulmomary hypertension of the newborn ภาวะความดันหลอดเลือดในปอดสูงในทารกแรก
DIC=Disseminated Intravascular Coagulation ภาวะที่กลไกการแข็งตัวของเลือดทำงานผิดปกติและเกิดการ
แพร่กระจาย ซึ่งอาจนำไปสู่การเกิดลิ่มเลือดที่ทำให้เส้นเลือดอุดตันทั้งแบบกึ่งเฉียบพลันหรือเรื้อรัง