Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มีภาวะเสี่ยงสูง, จัดทำโดย - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
พัฒนาพฤติกรรมทางระบบประสาท
เพื่อให้ทารกมีพฤติกรรมทางระบบประสาทที่เหมาะสม
เนื่องจาก
ช่วงเวลาที่อยู่ในครรภ์มีน้อย
ความเจ็บป่วยของทารก
สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม
การพยาบาล
จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
ส่งเสริมการดูดนมของทารก
จัดท่า
หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขา
ห่อตัวทารกแบบแขนงอ
ส่งเสริมพัฒนาการด้านการสัมผัสของทารกในขณะให้การรักษา
จับต้องทารกเท่าที่จำเป็น
ระบบการหายใจ
Perinatal asphyxia
การรักษาประคับประคอง
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
ให้ความอบอุ่น
NPO ให้สารน้ำ
ให้เลือด ถ้าความเข้มข้นเลือดต่ำ
หลังจาก12ชม.ให้ระวังอาการชัก
ระวังภาวะแทรกซ้อน
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
สาเหตุ
การคลอด
ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน คลอดติดไหล่ ครรภ์แฝด ทารกท่าผิดปกติ
มารดา
ตกเลือด อายุมาก เบาหวาน รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อน
ทารก
คลอดกำหนด เจริญเติบโตช้าในครรภ์ ติดเชื้อ พิการแต่กำเนิด
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง
เลือดเป็นกรด
เลือดขาดออกซิเจน
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
พบในทารกคลอดก่อนกำหนดที่เป็นRDS หรือโรคที่ต้องการออกซิเจนสูงเกิน60%
อาการ
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม
O2ในเลือดต่ำกว่าปกติ
CO2ในเลือดคั่ง
ความดันในปอดสูง
การป้องกัน(ลดปัจจัยเสี่ยง)
การคลอดก่อนกำหนด
การให้O2ความเข้มข้นสูงเป็นเวลานาน
การใช้ความดันของเครื่องช่วยหายใจสูงเป็นเวลานาน
ให้สารต้านอนุมูลอิสระ
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ
ให้O2
ให้ยาขยายหลอดลม
รักษาภาวะแทรกซ้อนฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
จอประสาทตาผิดปกติ(Retinopathy of Prematurity :ROP)
ความรุนแรง
stage1 : Demarcation line between vascularized and avascular retina
Stage 2: Ridge between vascularized and avascular retina
Stage 3: Ridge with extraretinal fibrovascular proliferation
Stage 4: Subtotal retinal detachment:(a) extrafoveal detachment (b) foveal detachment
Stage 5: Total retinal detachment
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทาทรกได้รับการตรวจ screening ROP
ติดตามO2 saturation ดูแลให้O2 saturation อยู๋ระหว่าง88-92 %
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรง และอยู่ในเกณฑ์บ่งชี้ให้ได้รับการรักษาโดยใช้แสงเลเซอร์
ดูแลให้รับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
การงอกผิดปกติของเส้นเลือดบริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตา
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
อาการ
มักเกิดในทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีRDSรุนแรง
เลือดออกมาก
หมดสติ ชักเกร็ง หยุดหายใจ ซีด กระหม่อนหน้าโปร่งตึง
เลือดออกน้อย
ซีด ซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นพักๆ
ปัจจัยเสี่ยง
ก่อนคลอด
การคลอดทางช่องคลอด ภาวะทารกขาาดออกซิเจน
หลังคลอด
RDS, prolonged neonatal resuscitation,
acidosis, pneumothorax, NEC และภาวะชัก
ความรุนแรง
grade 1 : มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองปกติ
grade 3: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade4: มีเลือดออกในโพรง สมองร่วมกับเลือดออกในเนื้อสมอง
Respiratory Distress Syndrome(RDS)
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
สาเหตุ
ขาดสารลดแรงตึงผิว(surfactant)
โครงสร้างของปอดพัฒนาไม่เต็มที่
อาการ
เมตาบอลิซึม
Hypoglycemia ภาวะ acidosis
ระบบทรวงอก
หน้าอกปุ่ม
ระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจ
หายใจเร็ว เสียงหายใจผิดปกติ
ซีด
BPต่ำ
ระบบผิวหนัง
ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
ระบบทางเดินอาหาร
ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
ระบบประสาท
ซึม กระสับกระส่าย
การรักษา
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้ออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิว
ให้ออกซิเจน
Apnea of prematurity(AOP)
obstruction apnea
หยุดหายใจ มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
สาเหตุ
prematurity
infection
metabolic disorder
Impaired oxygenation
CNS problem
drug
Gastroesophageal reflux
cental apnea
หยุดหายใจ ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
ภาวะหยุดหายใจ>20วินาที ร่วมกับมี cyanosis
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่าที่เหมาะสม
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
การวางแผนจำหน่าย
สามารถดูดนมเองได้
ทารกมีอาการดีขึ้น
น้ำหนักเพอ่มขึ้นสม่ำเสมอ >1800g
สอนมารดาเกี่ยวกับการให้นมลูกและการทำความสะอาด
สอนมารดาเกี่ยวกับการคิดอายุจริงของทารกเพื่อประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหลอกเลือดหัวใจเกิน
อาการ
รับนมได้น้อย
ท้องอืด
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
น้ำหนักไม่ขึ้น
การรักษา
การรักษาทั่วไป
ให้ยาควบคุมถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การรักษาจำเพาะ
ให้ยา เพื่อยับยั้งการสร้างprostaglandin
การผ่าตัด PDA ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติ
แบ่งออกเป็น
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ
สาเหตุ
การดูดซึมบิลลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
การติดเชื้อ
การสร้างบิลลิรูบินมากกว่าปกติ
การแตกทำลายของเม็กเลือดแดงจากหมู่เลือดแม่ลูกที่ไม่เข้ากัน ABO incompatability
ผิดปกติที่เยื่อหุ้ม เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
มีเลือดออกในร่างกาย
โรคธาลัสซีเมีย
เม็ดเลือดแดงเกิน
การกำจัดขี้เทาช้า
ระดับบิลลิรูบินสูง เข้าไปจับกับเนื้อสมองด้านใน เกิด Kernicterus
อาการ
ระยะยาว
เคลื่อนไหวผิดปกติ การได้ยินการเคลื่อนไหวลูกตาผิดปกติ พัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง
ระยะแรก
ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
การรักษา
การส่องไฟ
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
การพยาบาล
ปิดตาทารกทุก4ชม. เพื่อป้องกันการระคายเคืองของแสงต่อตา
เช็ดทำความสะอาดตาและตรวจตาของทารกทุกวัน
ระหว่างให้นมควรเปิดตาเพื่อให้ทารกได้สบตามารดา
ถอดเสื้อผ่าทารกออก จัดให้นอนหงายหรือคว่ำ เปลี่ยนท่าทุก2-4ชม.
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ
บันทึกและรายงานสัญญาณชีพทุก 1-4ชม.
สังเกตลักษระอุจจาระและบันทึก
ตรวจเลือดหาระดับบิลลิรูบินทุก12ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการส่องไฟ ภาวะขาดน้ำ ถ่ายเหลว ดูดนมไม่ดี มีผื่นที่ผิวหนัง ภาวะแทรกซ้อนที่ตา
การพยาบาล Exchange transfusion
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือด ต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้าออกและวัดสัญญาณชีพ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน หัวใจวาย แคลเซียมน้ำตาลต่ำ ตัวเย็น ติดเชื้อ
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก15นาที ทุก30นาที จนกระทั่งคงที่
ทารกแรกเกิด
การจำแนกประเภททารกแรกเกิด
จำแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
low birght weight infant
น้ำหนัก <2500g
very low birght weight <1500g
extreme low birght weight <1000g
normal birght weight infant
น้ำหนัก 2500-4000g
จำแนกตามอายุครรภ์
ครบกำหนด term 37-41wk
เกินกำหนด post term infant >41wk
ก่อนกำหนด preterm infant <37wk
สาเหตุ
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
มารดา
สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
ติดเชื้อในร่างกาย
มดลูขยายตัวเกินไป
อายุ<18 ,>35
เป็นเบาหวาน ความดัน หัวใจ
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย
รูปร่าง แขนขามีขนาดเล็ก
ศีรษะใหญ่
เปลือกตาบวม
กระดูกหูน้อย
ผิวหนังบาง
มีกล้ามเนื้อและไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อย
ขนาดอวัยวะเพศค่อยข้างเล็ก
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
หัวนมมีขนาดเล็ก ท้องป่อง
หายใจไม่สม่ำเสมอ
ความหมาย
28วันแรกของการมีชีวิต
คลอดก่อนกำหนด
<37 wk
ระบบทางเดินอาหาร
Hypoglycemia
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการ
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา สั่น ซีดหรือเขียว Tต่ำ
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อย
สร้างกลูโคสได้น้อย
มีภาวะเครียด
การดูแล
ทารกที่มีอาการร่วม
ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด(10% D/W)
ทารกที่ไม่มีอาการร่วม
ดูแลให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ติดตามอาการทุก 30นาที
ให้กินนม
keep warm
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
สาเหตุ
การคลอดก่อนกำหนด
การเริ่มรับนม
การใช้ยาของมารดา
ภาวะขาดออกซิเจน
อาการ
ถ่ายอุจจาระเหลว
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
ท้องอืด
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร
อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
เซื่องซึม ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้องกวน Tต่ำ หยุดหายใจ หัวใจเต้นช้า
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
การรักษา
NPO
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง
ให้สารน้ำ
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต
เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
การผ่าตัด
เปิดสำรวจช่องท้อง
ใส่ท่อระบายช่องท้อง
Meconium aspiration syndrome(MAS)
อาการ
น้อย
หายใจเร็ว แรงดีนลดลง มีความเป็นกรด ด่าง
ปานกลาง
หายใจเร็วรุนแรง มีการดึงรั้งของช่อ
มาก
ระบบหายใจล้มเหลว
การพยาบาล
วัดความดันโลหิตทุก2-4ชม.
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
ติดตามอาการขาดออกซิเจน
สังเกตอาการติดเชื้อ
ให้ทาารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
อายุครรรภ์>42 wk.
ความดันโลหิตสูง
รกเกาะต่ำ รกลอกก่อนกำหนด
มีประวัติใช้สารเสพติด
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ รั่วนาน18ชม.
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน
เครียด
หูรูดคลายตัว
ถ่ายขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ภาวะที่มีการสูดสำลักเอาขี้เทาเข้าไปในหลอดลมหรือปอด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ทารกไวต่ออุณหภูมิ
hypothalamus,CNS เจริญไม่เต็มที่
ผิวหนังบาง ไขมันใต้ผิวน้อย
ต่อมเหงื่อยังทำหน้าที่ได้ไม่ดี
ความสามารถในการผลิตความร้อยอัตโนมัติยังน้อย
สูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
นำ
พา
แผ่
ระเหย
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวรหนัก
เกิดก่อนกำหนด
นาน3นาที ลึก2.5ซม.
เกิดครบกำหนด
นาน3นาที ลึก3ซม.
ทางรักแร้
เกิดก่อนกำหนด
นาน5 นาที
เกิดครบกำหนด
นาน8 นาที
ภาวะอุณหภูมิกายสูง
37.5องศาเซลเซียส
อาจเกิดจากการติดเชื้อหรืออาการร้อน
อาการ
หงุดหงิด
เคลื่อนไหวลดลง หายใจเร็วแรง หรือหยุดายใจ
ผิวหนังอุ่นกว่าปกติ
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
<36.5,36.8 องศาเซลเซียส
อาการ
ดูดนมช้า น้อยลง
อาเจียนท้องอืด
มือเท้าเย็น ตัวซีด
น้ำหนักไม่ขึ้นหรือลดลง
การดูแล
จัดให้อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม(32-24องศาเซลเซียส)
keep warm
ตรวจสอบอุณหภูมิทุก4ชม.
ระบบภูมิคุมิกัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
IgM ยังสร้างไม่สมบูรณ์ IgG จากมารดาน้อย
เม็ดเลือดขาวน้อย
ผิวหนังเปราะบาง
Sepsis
แบ่งเป็น
Early onset Sepsis ภายใน 72ชม.
Late onset Sepsis หลัง 72ชม.
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกเกิน 18ชม.
การคลอดช้า
preterm
มารดามีการติดเชื้อ
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจน
อาการ
ไม่จำเพาะเจาะจง
ซึม ร้องนาน
ไม่ดูดนม
ซีด ตัวลายเป็นจ้ำ
ผิวหนังเย็น หายใจเร็ว
ท้องอืด อาเจียน
สั่น ชัก
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะตาม sensitivity
้Ampicillin iv กบั Gentamycin iv
การพยาบาล
ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
ควบคุมTให้อยู่ในระดับปกติ
ดูแลความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
แยกทารก
จัดทำโดย
นางสาว พรมณี สังวรกิจโสภณ 62111301055