Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 14
การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด องค์ประกอบและตัวอย่างของการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การสร้างนวัตกรรม
การวิจัยเเละพัฒนา คือ การวิจัยที่กำหนดผลลัพธ์เป็นการออกแบบ/จำลองโมเดลที่ใช้กลยุทธ์เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ ถูกการนำมาพัฒนาเพื่อเพิ่มรายได้ คุณภาพชีวิต โอกาสใหม่ๆ
ผลลัพท์ที่พึงประสงค์ของการวิจัยและพัฒนาที่เป็นนวัตกรรม
1.ตลาด (market)
2.เทคโนโลยี (technology)
3.ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
องค์ประกอบพื้นฐาน
1.แบบจำลอง (model)
2.การจำลองแบบ (simulation)
3.ต้นเเบบ (prototype)
คุุณลักษณะที่พึงปราถนาของการวิจัยและพัฒนาและอุปนิสัยที่จำเป็นของนักวิจัย
1.คุณลักษณะที่พึ่งปราถนาในการที่วิสาหกิจชุมชนเข้าสู่เครือข่ายธุรกิจ
2.มีประเด็นสำคัญของความคิด เน้น2focus
3.กลยุทธ์
4.มีสถานการณ์ที่อาจจะพลิกผันเปลี่ยนแปรในการทำการวิจัยและพัฒนาในประเด็นสำคัญ
5.ลักษณะที่สำคัญของการวิจัยและพัฒนา ที่มีคุณค่าความสร้างสรรค์
อุปนิสัยที่จำเป็นต่อความสำเร็จในการการสร้างนวัตกรรมของนักวิจัยและพัฒนา
1.กลุ่มแกนนำชุมชนที่จะทำการวิจัยและพัฒนาต้องมีความเป็นหนึ่งเดียวกัน
2.ความเข้าใจองค์ประกอบพื้นฐานของการวิจัยเเละพัฒนา
3.การกำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม
4.การกำหนดประเด็นการวิจัยเพื่อตอบโจทย์ที่ชัดเจนเน้นการกำหนดยุทธวิธีที่เหมาะสม
5.การเดินหน้าการวิจัยแบบคลำทาง
6.ความเชื่อมั่นในการทำการวิจัยและพัฒนาให้สำเร็จ
แนวคิด กระบวนการและเครื่องมือพื้นฐานของการขับเคลื่อนหลักเพื่อตอบโจทย์การวิจัยและพัฒนา
แนวคิดของแบบจำลอง/โมเดลและการจำลองสถานการณ์
1.ชนิดของแบบจำลอง
ชนิดของแบบจำลอง
แบบจำลองอะนาล็อก
เกมการบริหาร
แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
2.การจำลองแบบ/การจำลองสถานการณ์
เป็นแบบจำลองในการพยากรณ์สถานการณ์หรือเป็นเทคนิคที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาพฤติกรรมมของระบบรวมถึงการศึกษาและประเมินผลกระทบต่างๆ เพื่อนำข้อมูลไปเป็นพื้นฐานการตัดสินใจ
3.การเลือก "แบบจำลอง"เพื่อการทำแบบจำลองให้เป็น "ต้นแบบ"
4.แบบจำลองจะช่วยให้การอธิบายดำเนินไปอย่างเหมาะสม และถูกต้อง
องค์ประกอบพื้นฐานการสร้างแบบจำลอง
มีกรอบแนวคิดทางทฤษฎีที่มีความเหมาะสมในการเป็น ธงนำ
มีการออกแบบการวิจัยและใช้เทคนิคที่เหมาะสม
การพัฒนาแบบจำลองต้องผ่านการกลั่นกรอง ตรวจสอบ
ลักษณะการทำนาย
กระบวนการกำหนดแนวคิดการสร้าง แบบจำลองด้วยการเคลื่อนไหวอย่างมีระบบ
กระบวนการสร้างประสิทธิภาพในการทำงาน
กระบวนการสร้างแบบจำลอง
วิสัยทัศน์ที่ชัดเจน
กระบวนการสืบค้นข้อมูลที่จำเป็นในการกำหนดแบบจำลองและกลยุทธ์
กระบวนการตรวจสอบและทดสอบเพื่อปรับแก้แบบจำลอง
ตรวจสอบ
การทดสอบ
กระบวนการปรับแก้เพื่อให้เป็นแบบจำลองที่สมบูรณ์
กระบวนการพัฒนาและกำหนดกรอบแบบจำลอง
พื้นฐานกระบวนการสร้างแบบจำลองทางสังคมสาสตร์
กระบวนการสร้างแบบจำลองให้ใกล้เคียงกับระบบที่เกิดขึ้นจริงให้มากที่สุด
การวิเคราะห์ระบบเพื่อกำหนดกรอบการสร้างแบบจำลองให้เหมาะสม
กระบวนการสร้างการจำลองแบบ/จำลองการณ์
เป็นกระบวนการออกแบบแบบจำลองของระบบงานจริง แล้วดำเนินการทดลองใช้แบบจำลองนั้นเพื่อการเรียนรู้
เทคนิคและเครื่องมือการกำหนดประเด็นปัญหาและหาเหตุและผล
1.สนทนากลุ่ม
2.สุนทรียสนทนา
3.วิธีการระดมพลังสมอง
4.เวิร์กชอป
เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุ
การวิเคราะห์โอกาสและยุทธศาสตร์การสร้างนวัตกรรมด้วยการวิจัยและพัฒนาขององค์กรชุมชน
การสร้างนวัตกรรมของการวิจัยและพัฒนา
ของเครือข่ายในชุมชน
นวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
นวัตกรรมอาจเกิดจาก
1.ความรู้สู่สำเร็จจากคนที่สำเร็จมาก่อน
2.การแปรวิกฤติเป็นโอกาส
3.เครือข่าย
ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาเน้นอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร
การยกระดับความสามารถของเกษตรกรเป็นการยกระดับรายได้ ความเป็นอยู่นำไปสู่ความมั่นคงมั่งคั่งความยั่งยืนของไทย
กลุ่มธุรกิจ เป็นเครื่องมือ และกลไกลสำคัญในการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน
โอกาสและยุทธศาสตร์เพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรของเครือข่ายในชุมชน
1.การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในช่วงปี 2559-60 มีปัจจัยที่จะทำให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน
2.การเปลี่ยนแปลงของ "การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของวไทย
3.ทิศทางการส่งออกอาหารสำเร็จรูปของไทยให้เพิ่มต่อเนื่อง
4.แน้วโน้มความต้องการของสากล
แนวคิดพื้นฐานของการสร้างแบบจำลอง