Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 13 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประเมินผล หมายถึง กระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อถือได้และเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบโครงการ/การดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญ
ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ
ช่วยให้ทราบข้อมูลสารสนเทศ
เพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันระหว่างผู้ร่วมงานและผู้เกี่ยวข้อง
ช่วยเสริมแรง สร้างพลังจูงใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน
ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแผน/โครงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ช่วยให้ทราบถึงประโยชน์และข้อบกพร่องชองแผน/โครงการ
ช่วยให้แผน/โครงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรมีความน่าเชื่อถือ
ขอบเขต
การประเมินวัตถุประสงค์
การประเมินการดำเนินงานตามโครงการ
การประเมินประสิทธิผลของการดำเนินงานและการใช้ประโยชน์จากผลผลิตเบื้องต้น
การประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
การประเมินผลกระทบของการดำเนินงาน
การประเมินผลการดำเนินงานทั้งหมดพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ
ประเภทของการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตามลำดับเวลาการบริหารแผน/โครงการ
การประเมินก่อนดำเนินแผน
การประเมินระหว่างดำเนินแผน
การประเมินหลังสิ้นสุดแผน
ตามวัตถุประสงค์การประเมิน
การประเมินความก้าวหน้าของแผน/โครงการ
การประเมินผลสรุปรวมของแผน/โครงการ
ตามเนื้อหาการประเมิน
การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม
การประเมินปัจัยเบืองต้น
3.การประเมินกระบวนการ
การประเมินผลผลิตหรือผลงาน
ตามสิ่งที่เป็นหลักยึดในการประเมิน
การประเมินที่อิงวัตถุประสงค์/เป้าหมายของแผน/โครงการ
การประเมินที่ไม่อิงวัตถุประสงค์/เป้าหมายของแผน/โครงการ
รูปแบบการประเมิน
รูปแบบการประเมินที่เน้นจุดมุ่งหมาย
รูปแบบการประเมินของไทเลอร์
รุปแบบการประเมินของครอนบาค
รูปแบบการประเมินแบบวัดความสำเร็จแบบสมดุล
รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินค่า
รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินใจ
แผนแบบและกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเลือกใช้แผนแบบการวิจัยแบบใดแบบหนึ่ง จะเป็นปัจจัยที่กำหนดการออกแบบองค์ประกอบการวิจัยเชิงปริมาณที่สำคัญ 3 ประการ
การออกแบบการวัดตัวแปรหรือประเด็นการประเมิน
การออกแบบการสุ่มตัวอย่างหรือผู้ให้ข้อมู
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก
1.ใช้แผนแบบทดลอง
2.ใช้แผนแบบไม่ทดลอง
กระบวนการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.ศึกษารายละเอียดของแผน/โครงการที่จะทำการประเมิน
2.ระบุหลักการและเหตุผลของการประเมิน
3.กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการประเมิน
4.กำหนดกรอบแนวคิด แบบ และรูปแบบการวิจัยเชิงประเมิน
5.กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินหรือเปรียบเทียบและพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล
6.กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
7.เก็บรวบรวมข้อมูล
8.ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
9.จัดทำรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
ตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตัวชี้วัด
หมายถึง เครื่องมือหรือสิ่งที่บ่งบอกถึงความก้าวหน้า และความสำเร็จหรือไม่สำเร็จของกิจกรรมหรือกระบวนการดำเนินงาน เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดในมิติต่างๆ
องค์ประกอบในการจัดทำตัวชี้วัดแผน/โครงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
มิติ
ประเด็น
ตัวชี้วัด/ดัชนี
ตัวแปร
แหล่งข้อมูล/วิธีการได้มาของข้อมูล
เกณฑ์การพิจารณา
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ลักษณะของค่าตัวชี้วัดในการประเมินเชิงประเมิน
1.ที่เป็นอัตราส่วน
2.กำหนดเป็นคะแนน
3.เป็นจำนวน
4.เป็นค่าเฉลี่ย
5.เป็นค่าสัดส่วน
6.เป็นค่าร้อยละ
ประเภทของตัวชี้วัด
1.ตัวชี้วัดการบริหารจัดการโครงการ
2.ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้า
3.ตัวชี้วัดกระบวนการ
4.ตัวชี้วัดผลผลิตหรือผลการดำเนินงาน
5.ตัวชี้วัดผลลัพธ์
6.ตัวชี้วัดผลกระทบ
คุณลักษณะของตัวชี้วัดที่ดี
1.มีความเที่ยงตรง
2.มีหลักเกณฑ์ที่เเน่นอน
3.มีความจำเพาะเจาะจง
4.มีระบบจัดเก็บข้อมูลที่ดี
5.เป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง
การดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แหล่งข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณ
1.บุคคล
2.บันทึกต่างๆขององค์กร
3.อนุกรมสถิติทางราชการ
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับขั้นตอนต่างๆ
1.การเก็บรวบรวมข้อูลกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงปริมาณ
2.การเก็บรวบรวมข้อมูลกับกรอบแนวคิดการวิจัยและสมมติฐาน
3.การเก็บรวบรวมข้อมูลกับเทคนิคการวิเคาะห์ข้อมูล
4.การเก็บรวบรวมข้อมูลกับการรายงานผลการวิจัย
การเลือกวิธีการเก็บข้อมูล
1.วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประเมิน
2.คุณสมบัติของประชากรที่ศึกษา
3.ระยะเวลาที่ศึกษา
4.งบประมาณและบุคลากร
การวิเคราะห์ข้อมูล
1.วัตถุประสงค์ของกา่รวิจัยเชิงประเมิน
2.ตัวชี้วัดวัตถุประสงค์
3.ที่มาของข้อมูลของตัวชี้วัด
4.คุณสมบัติของตัวชี้วัด
5.สถิติที่ใช้ในการพรรณาและวิเคราะห์ข้อมูล
การเขียนรายงานผลการวิจัย
1.ความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตามแผน/โครงการ
2.ความสามารถในการบริหารจัดการแผน/โครงการให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด
3.ประสิทธิผลของการบริหารแผน/โครงการ
4.ผลกระทบของแผน/โครงการ
5.ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ประเภทของรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
1.รายงานฉบับสำหรับผู้บริหารและผู้วางนโยบาย
รายงานฉบับวิชาการ