Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ทั่วไปทางวิทยาการระบาด - Coggle Diagram
ความรู้ทั่วไปทางวิทยาการระบาด
การกระจายของโรค
เวลา (Time)
การเปลี่ยนแปลงระยะสั้น (Short-term)
โรคบางโรคมีการเพิ่มจำนวนผู้ป่วยอย่างรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้นและสิ้นสุดลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน
จับกลุ่มของผู้ป่วยในฃ่วงเวลใดเวลาหนึ่ง หรือคนจำนวนมากได้รับสิ่งที่เป็นสาเหตุของโรค
อาจเป็นเชื้อโรคหรือสารเคมีซึ่งมีจำนวนเมากในเวลาเดียวกัน อาจเป็นวันสัปดาห์หรือเดือน
มีการเปลี่ยนแปลงของโฮสท์ สิ่งแวดล้อมและสิ่งที่ทำให้เกิดโรค
การเปลี่ยนแปลงระยะยาว (Secular trends)
เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อยๆเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลายาว
การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับจำนวนความถี่ในช่วงระยะเวลาหลายปี หรือนับเป็นจำนวนสิบๆปีขึ้นไป
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงระยะยาวนี้ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลการตายซึ่งมีให้ศึกษามากกว่าข้อมูลการเจ็บป่วย
การเปลี่ยนแปลงเป็นรอบ (Cyclic fluctuations)
การเปลี่ยนแปลงเป็นรอบ คือการเปลี่ยนแปลงในจำนวนของการเกิดโรคเป็นช่วงๆไป หรือเป็นระรอก
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลในโรคติดเชื้อต่างๆ
การเปลี่ยนแปลงแบบนี้ ทำให้คาดคะเนได้ว่าในช่วงไหนหรือเดือนไหนจะมีโรคเกิดขึ้นมากกว่าปกติ เช่น โรคท้องร่วง มักพบมากในฤดูร้อน ไข้เลือดออกมักพบในฤดูฝน การระบาดของไข้หวัดใหญ่อาจจะเกิดทุก 2-3 ปี
บุคคล (Person)
– Age
–Sex
– Race
–Occupation
–Socioeconomic status
– Marital status
สถานที่ (Place)
ประโยชน์ของการศึกษาเรื่องสถานที่
ทราบปริมาณและรูปแบบของการกระจายโรคในพื้นที่
ต่างๆเพื่อวางแผนในการควบคุม
ศึกษาถึงสาเหตุของโรคเหล่านั้นได้
อุบัติการณ์เกิดโรคและอัตราตายของประชากร
แต่ละท้องถิ่นแตกต่างกันออกไป
การเปรียบเทียบสภาวะอนามัยของชุมชน วิธีการรวบรวมข้อมูล
และนิยามของโรคจะต้องมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
ลักษณะที่สำคัญบางอย่างเกี่ยวกับสถานท
ในประเทศหรือเขตที่มีอัตราการเกิดโรคสูง ประชากรที่อยู่ใน
ประเทศนั้น เกือบทุกเชื้อชาติจะมีอัตราการเกิดโรคนั้นสูง
ประชากรที่เคลื่อนย้ายจากประเทศที่มีอัตราการเกิดโรคต่ำไปยังประเทศที่มีอัตราการเกิดโรคสูงจะมีแบบลักษณะการเกิดโรคสูงคล้ายกับประเทศที่ย้ายไปอยู่ใหม
การเปรียบเทียบปริมาณโรคหรือการตายที่เกิดขึ้นในสถานที่ต่างๆกับบุคคลลักษณะต่างๆ
การเปรียบเทียบระหว่างประเทศ (International comparisons)
การเปรียบเทียบภายในประเทศ (International comparisons)
การกระจายของโรคในท้องถิ่น อาจใช้วิธีการง่ายๆ โดยทำแผนที่จุด (Spot map) ทำให้เห็นการกระจายของโรคในเขตท้องที่ต่างๆ เห็นการจับกลุ่มของผู้ป่วย (Cluster) ในท้องที่ต่างๆ เป็นแนวทางในการสืบสวนสอบสวนการระบาดของโรคได้
ข้อเสียของวิธีการนี้ คือ ท้องที่ใดมีประชากรหนาแน่น จะได้จำนวนผู้ป่วยมากขึ้น
แผนที่จุด (Spot map) ช่วยให้เห็นการกระจายของโรคในเขตต่างๆ ได้อย่างคร่าวๆ
การเปรียบเทียบในเมืองและในชนบท (Urban-rural comparisons)
แนวทางการป้องกันและควบคุมโรค
1.การป้องกันขั้นปฐมภูม
งานส่งเสริมสุขภาพ (Health promotion)
การสุขศึกษา - การโภชนาการ
สุขวิทยาส่วนบุคคล - การอนามัย
การสุขาภิบาล - การวางแผนครอบครัว
การอนามัยแม่และเด็ก - สุขวิทยาจิต
การคุ้มกันเฉพาะ (Specific protection)
การคุ้มกันเฉพาะเป็นการป้องกันสาเหตุของโรคโดยตรงในชุมชน อาจทำได้โดยการฉีดวัคซีนเพื่อเพิ่ม ภูมิต้านทานโรคโดยตรง และการควบคุมพาหะนำโรค
2.การป้องกันขั้นทุติยภูมิ
การค้นหาผู้ป่วยในระยะที่ยังไม่มีอาการ (Early detection of asymptomatic cases)
การตรวจวัดความดันโลหิตในการตรวจสุขภาพประจำปี ของ
พนักงาน
การตรวจภาพหลังสีปอดเพื่อดูวัณโรค และมะเร็งปอด
การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเพื่อตรวจดูโรคเบาหวาน
การวินิจฉัยผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็วเมื่อพบอาการ (Early diagnosis of symptomatic cases)
การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการทดสอบต่างๆ ควรทำโดยเร็วและทำอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อที่จะได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ลดระยะเวลาของโรค ผู้ป่วยหายเร็วขึ้น ช่วยป้องกันและลดความพิการตลอดจนภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
3.การป้องกันขั้นตติยภูม
การกำจัดความพิการ (Disability limitation)
การนำส่งต่อผู้ป่วย
การให้ความรู้แก้ผู้ป่วยในการป้องการความพิการที่อาจเกิดขึ้น
ให้ยาหรือเครื่องมือแพทย์ในการช่วยลดความพิการ
การฟื้นฟูสุขภาพ (Rehabilitation)
เพื่อให้ได้มีโอกาสใช้ส่วนพิการนั้นให้เกิดประโยชน์มากที่สุดสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้โดยไม่เป็นภาระแก่สังคม
ประเภทของผู้ป่วยที่จำเป็นต้องรักษาทางด้านฟื้นฟูสุขภาพ
กายภาพบำบัด (Physical therapy)
กิจกรรมบำบัด (Occupational therapy)
อาชีวะบำบัด (Vocational therapy)
อรรถบำบัด (Speech therapy)
การฟื้นฟูสภาพทางจิต
การฟื้นฟูสภาพทางสังคม ติดตามผู้ป่วยที่พิการ
ประโยชน์
เป็นประโยชน์ต่องานวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
การวางแผนสุขภาพและการบริหารงาน
ช่วยอธิบายธรรมชาติของการเกิดโรค
ช่วยค้นหาสาเหตุของโรค และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
การวินิจฉัยชุมชน
ใช้ในการควบคุมโรค
การให้สุขศึกษาแก่ประชาชน
การค้นพบโรคในระยะเริ่มแรก
การให้บริการด้านการแพทย์และสุขภาพ
ใช้ในการรักษาและป้องกันโรค
ปัจจัย
1 .สิ่งที่ทำให้เกิดโรค (Agent)
ปัจจัยหรือสาเหตุที่ทำให้อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ ซึ่งถ้าพบมากเกินไป จะทำให้เกิดโรค
สิ่งมีชีวิต (Host)
ในทางระบาดวิทยา อาจหมายถึง คน สัตว์ หรือ แมลงก็ได้ ซึ่งเป็นแหล่งที่เชื้อโรคสามารถอาศัยอยู่ในโฮสท์ได้
โฮสท์จะยอมให้ปรสิตอยู่ได้ชั่วขณะหนึ่งหรือตลอดไปก็ได้
โฮสท์จะมีปฏิกิริยาต่อสู้กับเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย และอาจมีพยาธิสภาพของโรคเกิดขึ้นหรือไม่ก็ได้
3.สิ่งแวดล้อม (Environment)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางเคม
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม