Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Leadership Motivation and Behavior, นางวราจิตร พรมเกตุ รหัส…
Leadership Motivation and Behavior
องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรม
พฤติกรรมด้านผู้นำทีม
พฤติกรรมด้านมุ่งการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมด้านมุ่งงาน
พฤติกรรมด้านมุ่งสัมพันธ์
พฤติกรรมผู้นำด้านมุ่งผลผลิต
Leadership and Major Motivation Theories
แรงจูงใจ
องค์ประกอบ
พฤติกรรมด้านผู้นำทีม
พฤติกรรมด้านมุ่งการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมด้านมุ่งงาน
พฤติกรรมด้านมุ่งสัมพันธ์
พฤติกรรมผู้นำด้านมุ่งผลผลิต
ความหมาย
กระบวนการต่าง ๆ ทางร่างกายและจิตใจถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าให้เกิดการแสดงออกของพฤติกรรม เพื่อที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของเป้าหมายที่ต้องการ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ด้านเนื้อหา
ทฤษฎี Abraham Maslow :
ขั้นตอนที่ 1 ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Need)
ขั้นตอนที่ 2 ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety and Security Need)
ขั้นตอนที่ 3 ความต้องการทางสังคม (Social Need)
ขั้นตอนที่ 4 ความต้องการได้รับการยกย่องยอมรับ (Esteem Need)
ขั้นตอนที่ 5 ความต้องการบรรลุผลสำเร็จสูงสุด (Self-Actualization Need)
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ทศวรรษที่ 1960 ของ McGregor (1960)
ทฤษฎี X ทฤษฎีนี้มองความเป็นมนุษย์ในแง่ไม่ดี สรุปแนวคิดที่
สำคัญของทฤษฎีนี้ได้ว่าโดย
ธรรมชาติของมนุษย์ที่แท้จริงนั้น มนุษย์ไม่ชอบทำงาน
ทฤษฎี Y ทฤษฎีนี้มองความเป็นมนุษย์ในแง่ดี แนวคิดของทฤษฎีนี้ สรุปสาระสำคัญ ได้ว่า
โดยธรรมชาติของมนุษย์ส่วนใหญ่ มีความมานะพยายามทั้งทางจิตใจและร่างกาย
ทฤษฎี ERG ทศวรรษที่ 1972
ความต้องการความสัมพันธ์ (Relatedness Need)
ความต้องการเติบโตก้าวหน้า (Growth Need)
ความต้องการดำรงชีวิตอยู่ได้ (Existence Need)
ทฤษฎี Two-Factor เป็นแนวคิดของ Herzberg, Bernard & Snyderman (1959)
ปัจจัยจูงใจ (Motivates Factors) เป็นปัจจัยกระตุ้นให้คนทำงานโดยเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ดีที่จะเกิดขึ้นกับพนักงาน อันจะทำให้พนักงานมีความพึงพอใจเกี่ยวกับงานที่จะทำ
ปัจจัยอนามัย (Hygiene or Maintenance Factors) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่จะสร้างความไม่พอใจในการทำงานให้กับพนักงาน
ทฤษฎีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของแมคคลีแลนด์ McClelland
ความต้องการความผูกพัน (need for affiliation (naff)
ความต้องการอำนาจ (need for power (npower)
ความต้องการความสำเร็จ (need for achievement (nach)
ทฤษฎีความต้องการของเมอร์เรย์ (Murray’s Manifest Need Theory)
ความต้องการขั้นทุติยภูมิ (secondary needs) มาจากการเรียนรู้จากสังคม
ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่างกาย (primary needs)
ด้านกระบวนการ
ทฤษฎีความคาดหวังของวรูม (Vroom‘s Expectancy Theory)
หัวหน้างานต้องรู้จักพนักงานแต่ละคนเป็นอย่างดีพนักงานมีความเชื่อถือในข้อตกลงที่
กำหนดกัน หัวหน้างานต้องรักษาสัญญาที่ให้ไว้กับพนักงาน
ผลตอบแทนหรือรางวัลที่ให้ต้องเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อพนักงาน
ผลตอบแทนหรือรางวัลจะได้ต้องสอดคล้องกับระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานเท่านั้น
คือ บรรลุเป้าหมายมากได้ผลตอบแทนมาก
ต้องกำหนดเป้าหมายชัดเจน รวมทั้งการปฏิบัติที่จำเป็นเพื่อการบรรลุเป้าหมายนั้น
ทฤษฎีความเสมอภาคของอดัมส์ (Adams’s Equity Theory)
ผลตอบแทนหรือรางวัลจะได้ต้องสอดคล้องกับระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานเท่านั้น
ผลตอบแทนหรือรางวัลที่ให้ต้องเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อพนักงาน
ผลตอบแทนเหมาะสม (Equitably Rewarded)
หัวหน้างานต้องรู้จักพนักงานแต่ละคนเป็นอย่างดีพนักงานมีความเชื่อถือในข้อตกลงที่
กำหนดกัน หัวหน้างานต้องรักษาสัญญาที่ให้ไว้กับพนักงาน
ทฤษฎีการกำหนดเป้าหมายของล๊อค (Locke’s Goal Setting Theory of Work
Motivation)
ใช้เป็นกรอบเพื่อการจูงใจในการบริหารงาน ผู้บริหารและพนักงานสามารถที่จะกำหนดเป้าหมายของตนเองแล้วดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายนั้น
เป้าหมายสามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการควบคุมได้อย่างมีประสิทธิผล
ทฤษฎีการจูงใจของ Skinner
ส่วนของการตอบสนองต่อสิ่งเร้า หมายถึง พฤติกรรมหรือการทำงาน
ส่วนของตัวเสริมแรง หมายถึง รางวัลหรือผลตอบแทนที่เป็นไปในทางบวกที่บุคคลจะได้
ก็ต่อเมือมีพฤติกรรมหรือการทำงานที่ดีหรือเหมาะสม
ส่วนของสิ่งเร้า หมายถึง สภาพแวดล้อมของพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory)
ตารางการเสริมแรง (Schedule of Reinforcement)
การเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Reinforcement)
การเสริมแรงเป็นครั้งคราว (Intermittent Reinforcement)
ประเภทของการเสริมแรง (Types of Reinforcement)
การลบพฤติกรรม (Extinction)
การเสริมแรงบวก (Positive Reinforcement)
การทำโทษ (Punishment
การเสริมแรงลบ (Negative or Avoidance Reinforcement)
Leadership Styles
The University of Michigan Research
พฤติกรรมของผู้นำแบบมุ่งคน
การมุ่งที่บุคคล (Aligning of People)
สร้างความร่วมมือหรือการตกลงร่วมกัน (Concert Building and Collaboration)
แรงดลใจและวิสัยทัศน์ (Creating Inspiration and Visibility)
สามารถตอบสนองความพึงพอใจของบุคคลในระดับที่สูงขึ้น (Satisfying HigherLevel Needs)
ทําให้คนรู้สึกว่างานมีความสําคัญต่อเขา (Making Work Meaningful for People)
การส่งเสริมและให้การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional Support and Encouragement)
การส่งเสริมหลักการและค่านิยมของบุคคล (Promotion of Principles and Values)
การระดมพล (Mobilization)
เป็นผู้นําที่ทําหน้าที่รับใช้ (Being a Servant Leader)
พฤติกรรมของผู้นำแบบมุ่งงาน
ความสามารถในการปรับตัวตามสถานการณ์(Adaptability to The Situation)
การกําหนดทิศทาง (Direction Setting)
การกล้าเสี่ยงและการปฏิบัติงานแบบมองโลกในแง่ที่ไม่ดีไว้ก่อน (Risk Taking and Bias for Action)
การให้แนวทางและการป้อนกลับข้อมูลอยู่เสมอ (Hand-On Guidance and Feedback)
ความสามารถในการตีความสถานการณ์ (เงื่อนไข) (Ability to Interpret Conditions)
การมุ่งที่การตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าอย่างมาก (Strong Customer Orientation)
The University of Ohio Research
มิติแบบมุ่งโครงสร้างงาน (Initiating Structure
พฤติกรรมที่ผู้นำกำหนดบทบาทของตัวเองและ
ผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อให้บรรลุจุดหมายขององค์การ
มิติแบบมุ่งความสัมพันธ์ (Consideration)
แบบมุ่งโครงสร้างสูงและมุ่งความสัมพันธ์ต่ำ
แบบมุ่งโครงสร้างต่ำและมุ่งความสัมพันธ์สูง
แบบมุ่งโครงสร้างสูงและมุ่งความสัมพันธ์สูง
แบบมุ่งโครงสร้างต่ำและมุ่งความสัมพันธ์ต่ำ
The Leadership Grid
แบบมุ่งงาน (Task–Oriented/Authority Compliance) แบบ 9,1 ผู้นำจะมุ่งเอาแต่งานเป็นหลัก (Production Oriented) สนใจคนน้อย มีพฤติกรรมแบบเผด็จการ
แบบมุ่งคนสูง (Country Club Management) แบบ 1,9 ผู้นำจะเน้นการใช้มนุษยสัมพันธ์และเน้นความพึงพอใจของผู้ตามในการทำงาน ไม่คำนึงถึงผลผลิตขององค์การ
แบบทำงานเป็นทีม (Team Management ) แบบ 9,9 ผู้บริหารให้ความสนใจทั้งเรื่องงานและขวัญกำลังใจผู้ใต้บังคับบัญชา
แบบมุ่งงานต่ำมุ่งคนต่ำ (Impoverished) แบบ 1,1 ผู้บริหารจะสนใจคนและสนใจงานน้อยมาก ใช้ความพยายามเพียงเล็กน้อยเพื่อให้งานดำเนินไปตามที่มุ่งหมาย และคงไว้ซึ่งสมาชิกภาพขององค์การ
. แบบทางสายกลาง ( Middle of The Road Management) แบบ 5,5 ผู้บริหารหวังผลงานเท่ากับขวัญและกำลังใจของผู้ปฏิบัติงาน ใช้ระบบราชการที่มีกฎระเบียบแบบ
The University of Iowa Research
แบบประชาธิปไตย (Democratic)
เน้นการมีส่วนร่วมของกลุ่มและกฎเกณฑ์ที่สำคัญ
มีการโต้ตอบระหว่างผู้นำและผู้ปฏิบัติงานโดยใช้การป้อนกลับ
ช่วยเหลือให้ผู้ปฏิบัติงานได้พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น
ผู้นำที่เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการบริหารและการตัดสินใจ
แบบตามสบายหรือภาวะผู้นำแบบเสรีนิยม (Laissez-faire)
ผู้นำที่มีส่วนเกี่ยวข้องน้อยมากในทุกกิจกรรม
ปล่อยให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานตามสบายผู้นำจะเป็นเพียงผู้คอยชี้แนะและให้คำแนะนำในบางโอกาส
เป็นผู้นำที่ให้อิสระในการทำงานและการตัดสินใจ
แบบเผด็จการ (Autocratic)
ควบคุมผู้ปฏิบัติงานอย่างเข้มงวด
ใช้อำนาจโดยวิธีการออกคำสั่ง
ยึดถือกฎระเบียบ
มักจะตัดสินใจด้วยตนเองแต่ผู้เดียว
ไม่ฟังความคิดเห็นของคนรอบข้าง
นางวราจิตร พรมเกตุ รหัส 63632233108