Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยาของมารดาในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยาของมารดาในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยามารดาหลังคลอด
เยื่อบุโพรงมดลูกและบริเวณรกเกาะ
Decidua basalis
ซึ่งยังคงอยู่ในมดลูกหลังจากรกและเยื่อหุ้มเด็กแยกออกไปแล้วในระยะ 2 – 3 วันหลังคลอด
Decidua
ชั้นผิวใน (Superficial layer) จะหลุดออกมาเป็น
ส่วนของน้้าคาวปลา
ชั้นใน (Functional layer) ซึ่งอยู่ติดกับเนื้อมดลูกมีต่อมเยื่อบุโพรงมดลูกเนื้อเยื่อคอนเน็คทิฟว์(Connective tissue)
การลอกตัวของรกซึ่งปกติจะหายอย่างสมบูรณ์ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด
มดลูก (Uterus)
การขาดเลือดมาหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อมดลูก ( Ischemia or localized anemia )
การบีบรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกซึ่งถูกควบคุมโดยออกซิโตชิน (Oxytocin) เยื่อบุภายในโพรงมดลูกและเกิดการยุบสลายถูกขับออกมาทางน้้าคาวปลาการกลับคืนสู่สภาพเดิมของมดลูก
ระดับของมดลูกจะลดลง
1 ชั่วโมง หลังคลอด เท่ากับระดับสะดือ
2-7 วันหลังคลอดมดลูกจะหดรัดตัวและลดขนาด วันละ ½ - 1 นิ้ว
6 สัปดาห์หลังคลอด ระดับมดลูกไม่ลดลงติดต่อกัน 3 วัน หรือมดลูกลดตัวช้ากว่าปกติ“มดลูกไม่เข้าอู่” (Subinvolution of uterus)
ภายหลังคลอดทันทีจะอยู่ระหว่างสะดือกับหัวเหน่า
การย่อยสลายตัวเอง (Autolysis or self digestion)
ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) และโปรเจสเตอโรน(Progesterone)ลดลง แมคโรแฟ็จ (Macrophage) เข้าไปในเยื่อบุของกล้ามเนื้อมดลูก เพื่อทำลายสิ่งแปลกปลอมโปรตีนในผนังมดลูกจะแตกและถูกดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือดแล้วขับออกทางไต มดลูกจะลดลง
อาการปวดมดลูก (Afterpain)
ครรภ์ที่ 2 ขึ้นไป
มดลูกยืดขยายมาก
มารดาให้บุตรดูดนม หลั่งฮอร์โมนออกซิโทซิน (Oxytocin)ไปกระตุ้นมดลูกให้หดรัดตัว
น้้าคาวปลา (Lochia)
Lochia serosa สีชมพู น้ำตาล 4-9 วัน WBC/เยื่อบุมดลูก/เมือกRBC/แบคทีเรีย
Lochia alba เหลือง ขาว 10-14 วัน WBC/เยื่อบุมดลูก/เมือก/แบคทีเรีย
Lochia rubra สีแดงเข้ม 2 – 3 วันแรกหลังคลอด น้ำเลือด/เยื่อบุมดลูก/เมือกไข/ขนอ่อน-ขี้เทาทารก
ปากมดลูก
1 สัปดาห์ กลับคืนเหมือนสภาพเดิมเกือบสมบูรณ์
ก่อนตั้งครรภ์รูปากมดลูกที่เป็นรูปวงกลม
คลอดลูกจะเปลี่ยนแปลงเป็นรูปยาวรี
ฝีเย็บ (Perineum)
มารดาที่ได้รับการตัดฝีเย็บและได้รับการเย็บซ่อมแซมฝีเย็บจะหายเป็นปกติภายใน 5 – 7 วัน
ผนังหน้าท้อง (Abdominal wall)
ผนังหน้าท้องจะอ่อนนุ่มและปวกเปียกจะยังไม่
สามารถพยุงอวัยวะภายในช่องท้องได้เต็มที่หน้าท้องจะยื่นออกมาการกลับคืนสู่สภาพเดิมของกล้ามเนื้อหน้าท้องต้องใช้เวลาประมาณ 2 – 3 เดือน
การมีประจำเดือน
มารดาที่ไม่ได้เลี้ยงทารกด้วยนมตนเองจะมีการตกไข่ครั้งแรกเมื่อสัปดาห์ที่ 10 – 11หลังคลอดและเริ่มมีประจ้าเดือนเมื่อสัปดาห์ที่ 7 – 9 หลังคลอด
มารดาที่เลี้ยงทารกด้วยนมตนเองนาน 3 เดือนจะมีการตกไข่ครั้งแรกเมื่อสัปดาห์ที่ 17 หลังคลอดถ้าเลี้ยงด้วยนมตนเองนาน 6 เดือนจะมีการตกไข่เมื่อสัปดาห์ที่ 28 หลังคลอดและจะเริ่มมีประจำเดือนเมื่อสัปดาห์ที่ 30 –36 หลังคลอด
เต้านม
Estrogen
ทำให้หัวนม ลานนมขยายใหญ่และมีสีเข้มขึ้น
ต่อมไขมันบริเวณลานนม หลอดน้ำเหลืองและหลอดโลหิตขยายใหญ่ขึ้นและท่อน้้านมก็จะเจริญเต็มที่
Progesterone
ทำให้ถุงผลิตน้ำนม และเซลล์ผลิตน้ำนมเจริญเต็มที่เพื่อเตรียมสร้างน้ำนม
หัวนมมีประมาณ 15 – 20 ท่อส่วนของท่อน้ำนมนี้จะขยายตัวเป็นกระเปราะ (ampulla) เพื่อเป็นที่เก็บน้้านมไว้ชั่วคราว ซึ่งจะอยู่ตรงกับบริเวณลานนมช่องว่างระหว่างถุงผลิตน้ำนมและท่อน้้านมประกอบด้วยไขมันและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connectivetissue)รวมทั้งเส้นเลือดที่มาหล่อเลี้ยง ดังนั้นภายหลังคลอดหลอดโลหิตจะขยายใหญ่เลือดคั่งมากอาจมีการคัดตึงเต้าม (breast engorgement) ทำให้ขนาดของเต้านมใหญ่ขึ้นและตึงขึ้นจะเห็นชัดในราววันที่ 2 – 4 หลังคลอด
เต้านมจะมีการสร้างน้ำนม
น้ำนมระยะปรับเปลี่ยน (transitional milk) เป็นน้ำนมที่ออกมาในช่วงระหว่างหัวน้ำนมจนเป็นน้้านมแม่ซึ่งระยะปรับเปลี่ยนจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 – 10
น้้านมแม่ (true milk หรือ mature milk) จะเริ่มประมาณ 2 สัปดาห์หลังคลอด
หัวน้้านม (colostrum) จะเริ่มผลิตใน 2 – 3 วันแรกหลังคลอดมีสีเหลืองข้น
ช่องคลอด (Vagina)
Rugae
น้อยลง เริ่มสร้างใหม่ สัปดาห์ที่ 3
Hymen
ขาดกระรุ่งกระริ่ง(Carunculae myrtiforms) เป็นลักษณะเฉพาะคนเคยคลอดบุตร
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ
ระบบหายใจ
ขนาดของช่องท้องและช่องทรวงอกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในระยะหลังคลอดทำให้ความจุภายในช่องท้องและกะบังลมลดลงปอดขยายได้ดีขึ้นการหายใจสะดวกขึ้น
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ระหว่างความศีรษะทารกกดท่อและกระเพาะปัสสาวะทำให้มีอาการบวมความจุมากขึ้น แต่ความไวต่อแรงกดในกระเพาะปัสสาวะลดลง
การทำงานของไต
(Renal function)
ทำงานเพิ่ขึ้นในการปรับสภาพสมดุลของน้ำและปริมาณเลือดทำให้ปัสสาวะบ่อย
ระดับ Cr.และยูเรียไนโตรเจนในกระแสเลือดจะเป็นปกติใน 6 สัปดาห์
กรวยไตและหลอดไตที่ขยายตัวจะกลับสู้สภาพเดิม 8-12 สัปดาห์
น้้าหนักลด (Weight Loss)
น้ำหนักมารดาจะลดลงประมาณ 5-6 กก.
สัปดาห์แรกของการคลอดจะลดลงอีก 2-4 กก.
6 สัปดาห์หลังคลอดมารดาจะมีน้ำหนักคงที่เหมือนก่อนตั้งครรภ์
ระบบเลือด
3 วันแรกหลังคลอดค่าฮีมาโตคริตอาจสูงขึ้นเล็กน้อยเนื่องจากมีการลดระดับของปริมาณน้ำเหลือง (Plasma) มากกว่าจำนวนของเม็ดเลือดจะลดลงสู่สภาพปกติ
ความดันเลือดและชีพจร
ความดันโลหิต
มีการแปลงเปลี่ยนเพียงเล็กน้อย
ถ้าBP>140/90 mmHg อาจเรียกว่า Cerebrovascular accident
ถ้า BP<90/60 mmHg ประกอบกับ PR เบาเร็ว หน้าซีด ใจสั่น มือเท้าเย็น อาจช็อกหรือเสียเลือด
สัปดาห์แรกหลังคลอดจะต่ำกว่าค่าเฉลี่ยปกติคือประมาณ 50 – 70 ครั้งต่อนาที
7 – 10 วันหลังคลอด ปริมาณเลือดและความดันโลหิตต่ำลงเป็นผลให้อัตราการเต้นของชีพจรค่อยๆเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเข้าสู่ระดับปกติ
WBC จะเพิ่มสูง ร่างกายสร้างกลไกป้องกันการติดเชื้อ
ระบบทางเดินอาหาร
ท้องผูก
การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
2 – 3 วันแรกมักมีความอยากอาหารและดื่มน้้ามากเพราะสูญเสียน้้าระหว่างคลอด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หลังคลอดปริมาณเลือดจะลดลงทันทีแล้วค่อยๆลดลงเรื่อยประมาณ 3 – 4 สัปดาห์หลังคลอดปริมาณเลือดจึงจะลดลงสู่ระดับปกติ
การไหลเวียนของเลือดระหว่างมดลูกกับรกสิ้นสุดลงลดขนาดของแวสคิวอะเนด (Vascularbed) ของมารดา10 – 15 เปอร์เซนต์
หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนของรกสิ้นสุดเป็นการตัดตัวกระตุ้นที่ทำให้หลอดเลือดขยาย
มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกหลอดเลือดที่สะสมระหว่างตั้งครรภ์
ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
กล้ามเนื้อช่วง 1 – 2 วันแรกหญิงระยะหลังคลอดมีอาการเมื่อยและปวดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะบริเวณแขนขาไหล่และคอทั้งนี้เพราะต้องออกแรงเบ่งขณะคลอดและหลังคลอดรกฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดต่ำลงทำให้ความตึงตัวของกล้ามเนื้อเริ่มลดลงส่วนกล้ามเนื้อหน้าท้องจะนุ่มหยุ่นไม่แข็งแรงและจะหนาขึ้นบริเวณกลางท้องบางรายอาจมีกล้ามเนื้อหน้าท้องแยก (diastasis recti abdominis) คือบริเวณรอยแยกจะไม่มีกล้ามเนื้อพยุงมีแต่ผิวหนังไขมันชั้นใต้ผิวหนัง (subcutaneous fat) พังผืด (attenuated fascia) และเยื่อบุช่องท้อง(peritoneum)
โครงกระดูกในช่วงตั้งครรภ์ฮอร์โมนรีแลคซิน (relaxin) ทำให้บริเวณข้อต่อต่างๆของร่างกายมีการยืดขยายมีการเคลื่อนไหวของข้อต่อมากเกินไปและมีการเปลี่ยนจุดศูนย์ถ่วงของร่างกายจากมดลูกที่โตขึ้นเป็นผลให้กระดูกสันหลังแอ่นและกระดูกเชิงกรานรับน้้าหนักมากขึ้นหลังคลอด 2 – 3 วันแรกระดับฮอร์โมนรีแลคซินค่อยๆลดลงแต่หญิงระยะหลังคลอดยังคงเจ็บปวดบริเวณสะโพกและข้อต่อ และจะเข้าสู่สภาพปกติต้องใช้เวลาประมาณ 6-8 สัปดาห์หลังคลอด
ระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (Pituitary hormone)
FHS LH ต่ำใน 10-12 วัน
Prolactin
มารดาไม่ได้ให้นมบุตรจะลดลงใน 2 สัปดาห์
มารดาให้นมบุตร Prolactin จะหลั่งมากขึ้น
ฮอร์โมนเกี่ยวกับการเจริญเติบโต (Growth hormone)
สัปดาห์แรกหลังคลอดเป็นช่วงระยะปรับเปลี่ยนฮอร์โมนและฮอร์โมนต่างๆที่
เกี่ยวกับการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรทให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ฮอร์โมนของรก (Placental hormone)
สัปดาห์แรกหลังคลอดระดับของฮอร์โมนHuman
Chorionic Gonadotropin = HCG จะลดลง
3 ชั่วโมงหลังคลอดระดับเอสโตรเจนในพลาสมาจะลดลงและกลับเข้าสู่ระยะ Follicular phase
3 วันหลังคลอด โปรเจสเตอโรนต่ำกว่าระยะLuteal phase ผลิตอีกครั้งในระยะตกไข่
ระบบภูมิคุ้มกัน
ภูมิคุ้มกันต่อปฏิกิริยาการไม่เข้ากันของหมู่เลือด (Blood - type incompatibilities)ในช่วงที่เจ็บครรภ์และคลอดเป็นช่วงที่เสี่ยงต่อการส่งผ่านเลือดจากทารกไปสู่มารดาซึ่งจะมีความสำคัญมากในมารดาที่มีRh- เพราะจะได้รับเซลล์จากทารกในครรภ์ที่มี Rh+ ระบบภูมิคุ้มกันของมารดาจะสร้างแอนติบอดีเพื่อตอบสนองต่อแอนติเจน
ระบบผิวหนัง
เมื่อการตั้งครรภ์สิ้นสุดลงฝ่าบริเวณใบหน้าจะหายไป แต่สีที่เข้มของลานนมเส้น กลางหน้าท้อง (Linea nigra) และรอยแตกของผิวหนังบริเวณผนังหน้าท้อง(Striae gravidarum) จะไม่หายไป แต่สีอาจจางลง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมของมารดา
กระบวนการในการปรับตัวของสตรีหลังคลอด (Process of maternaladaptation) ได้สังเกตพฤติกรรมของสตรีหลังคลอดในการแสดงบทบาทมารดาซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะ
2.Taking – hold phase
บทบาทของพยาบาล
1.พยาบาลต้องมีความอดทนในการสอนสาธิตแนะน้าและให้ก้าลังใจแก่มารดาหลังคลอด
2.สนับสนุนให้สามีพูดคุยให้ก้าลังใจเพื่อช่วยให้มารดาหลังคลอด
3.การแนะน้าเรื่องการวางแผนครอบครัว
ระยะนี้จะอยู่ในช่วง 3 – 10 วันหลังคลอด โดยเริ่มเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมพึ่งพาเริ่มเข้าสู่พฤติกรรมพึ่งพาเป็นอิสระสามารถช่วยเหลือตนเอง
Letting-go phase
เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 หลังคลอด มารดาหลังคลอดและสามีได้ร่วมกันวางแผนการดำเนินชีวิตการปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่
บทบาทของพยาบาล
พยาบาลจะต้องแนะนำให้มารดาหลังคลอดสามีและสมาชิกภายในครอบครัวสามารถปรับตัวและวางแผนการดำเนินชีวิต
Taking – in phase
เริ่มเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดาเป็นระยะ 1 – 3 วันแรกหลังคลอดปวดมดลูกเจ็บปวดแผลฝีเย็บและคัดตึงเต้านม
บทบาทของพยาบาล
ดูแลช่วยเหลือประคับประคองและตอบสนองความต้องการของมารดาหลังคลอด
2.ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่อบอุ่นเห็นอกเห็นใจเข้าใจความรู้สึกด้วยความจริงใจ
3.เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดได้ระบายความรู้สึกและรับฟังด้วยความสนใจจะช่วยให้มารดาหลังคลอดสบายใจขึ้น
4.ควรอธิบายให้สามีและญาติเข้าใจถึงความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ
สังเกตอาการผิดปกติทางด้านจิตใจที่อาจจะเกิดขึ้นให้ความสนใจทั้งคำพูดและพฤติกรรมที่แสดงออก
ภาวะที่มารดาเศร้าหลังคลอด (Postpartum blues หรือbaby blues)
สาเหตุ
รูปร่างของตนเองในช่วงหลังคลอดเช่นหน้าท้องห้อยหย่อนยานรู้สึกเบื่อ
มีความเครียดทางร่างกาย
รู้สึกถูกละเลยไม่ได้รับความสนใจ
มีความเครียดด้านจิตใจในช่วงรับบทบาทการเป็นมารดา
การลดลงทันทีของฮอร์โมนเอสโตรเจนและ
โปรเจสเตอโรนในช่วง 72 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
มีความขัดแย้งระหว่างบุคคล
อาการ
วิตกกังวล อ่อนเพลีย
มีอาการสูงสุด 3 วัน อาจหาย 10 วัน
จะร้องไห้นานถึง 2 ชม.