Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (Bladder cancer), นางสาวกาญจนา เวิงไธสง 62110048 …
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
(Bladder cancer)
พญาธิสรีระวิทยา
เนื้องอกของกระเพาะปัสสาวะร้อยละ 80 เริ่มเป็นที่ด้านล่างของกระเพาะปัสสาวะ คอของกระเพาะปัสสาวะและรูเปิดของหลอดไตมักจะอุดกั้น น้ำปัสสาวะจากคั่งค้างเกิดเป็นแผลถ่ายปัสสาวะเป็นเลือดและมักมีการติดเชื้อร่วมด้วย เมื่อมีเนื้องอกโตมากขึ้นความจุของกระเพาะปัสสาวะจะน้อยลงทำให้ถ่ายปัสสาวะบ่อย
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค
1.บุหรี่
เราพบว่ามีสารหลายตัวในบุหรี่เช่นarylamines,carciongen4-aminobiphenyl,polytclin aromatichydrocarbon,hererocyclicamines
and various epoxides,N-nitroso compounds
2.การสัมผัสสารเคมีต่อเนื่องเป็นเวลานาน
โดยเฉพาะผู้ที่ทำงานในโรงงานผลิตสีย้อมผ้า เม็ดพลาสติก
เครื่องหนัง ยาง
3.Chronic bladder irritation and infection
เช่นในภาวะเป็นนิวในกระเพาะปัสสาวะ
4.Chemotherapy
อย่ยาที่ใช้ในการรักษามะเร็งเต้านมเช่น Cyclophosphamide(10)
จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสารCaroline ซึ่งทำให้เกิดมีการอักเสบอย่างรุนแรงซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งได้
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
1.ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรกหลังผ่าตัด
ทางเดิทางเดินปัสสาวะรั่ว (urinary extravasation)
จะแสดงอาการของภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ(peritonitis)
ปวดท้องหน้าท้องโป่งตึงการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
มีไข้มีปัสสาวะหรือสารเลวซึมออกจากแผลรอบๆท่อระบาย
อาการหลังผ่าตัดที่พบได้ทั่วไป
เลือดออกปวดอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและแผลผ่าตัด
ภาวะขาดน้ำและเหลือโซเดียม
อาการถ่ายเหลวและดื่มน้ำมากผิดปกติ
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
จะมีการสูญเสียไบคาร์บอเนตจากร่างกายและพบระดับคลอไรด์ในเลือดสูงขึ้น เกิดภาวะกรดชนิดที่มีคลอไรด์ในเลือดสูง
(Hyperchloremic metabolic acidosis)
การดูดซึมไขมันผิดปกติ(Fatmalabsorbtion)
และภาวะซีด(permnicious anemia)
สโตมาอละผิวหนังรอบๆสโตมาเล่นผิวหนังสโตมาผิดปกติ
ผิวหนังรอบสโตมาอักเสบหรือเกิดแผลเปื่อยจากปัสสาวะที่มาสัมผัสบริเวณผิวหนังสโตมาตีบแคบ บวม หรือมีสีดำคล้ำ มีไส้เลื่อนหรือไส้ยื่นออกมามากผิดปกติมีเลือดออกมากบริเวณสโตมา
2.ภาวะแทรกซ้อนระยะยาว(Long-term complications)
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ(UTI)
กาวยไตอักเสบ(pyelonephritis)หรือกระเพาะปัสสาวะใหม่อักเสบ(pouchitis)อาการไข้หนาวสั่น ปวดท้อง ปัสสาวะมีเมือกปนจำนวนมาก ปัสสาวะเป็นเลือดเกิดนิ่วได้ทำให้การทำงานของไตผิดปกติ
การวินิจฉัยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
1.การซักประวัติและตรวจร่างกาย
2.การสองกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะ
โดยโสดผ่านเข้าไปทางท่อปัสสาวะเพื่อดูพยาธิสภาพภายในกระเพาะปัสสาวะและสามารถตัดชิ้นเนื้อบางส่วนที่สงสัยว่ามีความผิดปกติ(Biopsy)มาทำการพิสูจน์ทางพยาธิวิทยาว่าเป็นมะเร็งหรือไม่ ซึ่งถือเป็นการวินิจฉัยหลักและมีประโยชน์มากที่สุด
3.การตรวจปัสสาวะ (Urinalysis)
จะพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว ซึ่งมีมากในรายที่มีการติดเชื้อร่วมด้วยการทำ cytology อาจพบเซลล์มะเร็งปะปนอยู่
4.การตรวจทางรังสีวิทยา
เพื่อหาความผิดปกติของอวัยวะในทางเดินปัสสาวะ อาจมีการตรวจเอกซเรย์กระดูกและปอดเพื่อดูการแพร่กระจายของมะเร็ง ซึ่งเป็นวิธีที่มีประโยชน์สำหรับการประเมินสภาพส่วนอื่นๆของทางเดินปัสสาวะแต่ไม่ควรทำในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้สารทึบรังสีหรืออาหารทะเลและผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อก
การรักษา
1.ในระยะที่ก้อนเนื้องอกยังไม่ลุกลามถึงชั้นกล้ามเนื้อ(superficial disease)การสอดเครื่องมือเล็กๆเข้าไปทางท่อปัสสาวะปล่อยไฟฟ้าจี้ที่ก้อนมะเร็งทำลายก้อนมะเร็งไปให้หมด
2.ใช้วิธีการตัดเอาก้อนเนื้อออก(Transurethral reception of bladder tumor;TUR-BT)แล้วเย็บผนังของกระเพาะปัสสาวะ
3.ใช้ยาเคมีบำบัดใส่เข้าไปในกระเพาะปัสสาวะแล้วกักเก็บไว้เป็นระยะเวลาประมาณ1-2 ชั่วโมงแล้วจึงถ่ายทิ้ง
4.ระยะที่ก้อนเนื้องอกลุกลามเข้าไปยังชั้นกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะแล้ว(invasive disease)อาจต้องตัดเอากระเพาะปัสสาวะออก(Cystectomy)แล้วเปลี่ยนทางเดินปัสสาวะใหม่และตัดเอาบางส่วนของลำไส้มาดัดแปลงเป็นกระเพาะปัสสาวะ
5.ระยะที่มะเร็งกระเพาะปัสสาวะลุกลามออกไปนอกผนังกระเพาะปัสสาวะหรืออวัยวะข้างเคียง(metastatic disease)การรักษาจะใช้วิธีฉายแสงรังสีและเคมีบำบัดร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมาพบแพทย์ด้วยเรื่องปัสสาวะเป็นเลือดแพทย์จึงควรสอบถามประวัติและช่วงเวลาของการปัสสาวะแต่ละครั้ง เช่นมีเลือดปนช่วงต้นสาย ปลายสาย หรือตลอดซึ่งแต่ละช่วงสามารถบอกตำแหน่งของโรคได้
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่มีอาการปวดร่วมด้วย บางรายมีปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะขัดร่วมด้วยเราควรระมัดระวังถ้าผู้ป่วยสูงอายุมาด้วยเรื่องปัสสาวะมีเลือดปนจะต้องรีบทำการสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริง
ชนิดของมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
1.Transition cell carcinoma พบส่วนใหญ่ 95% เป็นมะเร็งชนิดนี้
2.spuamous cell carcinomaร่วมกับภาวะมีการอักเสบรื้อรังร่วมกับการมีนิ่งในบางรายเกิดจากพยาธิใบไม้ในเลือด(7,8)ซึ่งระยะตัวอ่อนของพยาธิจะฝังตัวบริเวณชั้นในของกระเพาะปัสสาวะ
3.Adenocarcinoma ตำแหน่งที่พบบ่อยคือส่วนด้านหน้าหรือส่วนยอดของกระเพาะปัสสาวะร่วมกับremnant of urechus
4.นอกจากนี้อาจจะพบชนิดอื่นได้แต่น้อยมากเช่นsaroma,small cell carcinoma
การพยาบาลผู้ป่วยการพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1.การสังเกตสีและลักษณะของน้ำปัสสาวะ
2.การรับประทานอาหารและน้ำ
3.การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะใหม่โดยรู้วิธีNrobladder
4.การดูแลผู้ป่วยที่มีสโตมาเปิดทางหน้าท้อง
ประเมินตำแหน่งและลักษณะของสโตมา
5.การดูแลผิวหนังรอบๆสโตมา
6.การดูแลด้านจิตใจ
7.การทำกิจกรรมและออกกำลังกาย
8.การทำงานหลังผ่าตัดประมาณ1-2 ดือนผู้ป่วยสามารถกลับไปทำงานได้ตามปกติ
9.การสวมใส่เสื้อผ้า
10.การสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์
การป้องกันโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
1.งดสูบบุหรี่หรือหลีกเลี่ยงการได้รับควันจากสารเคมี
2.หมั่นออกกำลังกายอยู่เสมอ
3.ควรดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสมต่อร่างกาย
4.ดูแลสุขภาพโดยการรับประทานผักและผลไม้
5.หากครอบครัวมีประวัติเกี่ยวกับโรคมะเร็งปัสสาวะควรไปตรวจสุขภาพหรือพบแพทย์อย่างน้อยปีละครั้ง
นางสาวกาญจนา เวิงไธสง 62110048
นางสาวจิราภรณ์ กำรัมย์ 62110102
นางสาวกาญจนา เวิงไธสง 62110048
นางสาวจิราภรณ์ กำรัมย์ 62110102