Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 13 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ขอบเขตของการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประเมินวัตถุประสงค์
การประเมินการดำเนินงานตามโครงการ
การประเมินประสิทธิผลของการดำเนินงาน
การประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
การประเมินผลกระทบของการดำเนินงาน
การประเมินผลการดำเนินงานทั้งหมดพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ
ประเภทของการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การจำแนกประเภทของการประเมินตามลำดับเวลาการบริหารแผน/โครงการ
การจำแนกประเภทของการประเมินตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
การจำแนกประเภทของการประเมินตามเนื้อหาการประเมิน
การจำแนกประเภทของการประเมินตามสิ่งที่เป็นหลักยึดในการประเมิน
รูปแบบการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
รูปแบบประเมินที่เน้นจุดมุ่งหมาย
รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า
รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินใจ
แผนแบบและกระบวนการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แผนแบบการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การออกแบบองค์ประกอบการวิจัยเชิงประเมินที่ถูกกำหนดโดยแผนแบบการวิจัยเชิงประเมิน
การออกแบบการวัดตัวแปรหรือประเด็นการประเมิน
การออกแบบการสุ่มตัวอย่างหรือผู้ให้ข้อมูล
แบบของแผนการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผนแบบทดลอง
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผนแบบไม่ทดลอง
กระบวนการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ศึกษารายละเอียดของแผน/โครงการที่จะทำการประเมิน
ระบุหลักการและเหตุผลของการประเมิน
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการประเมิน
กำหนดกรอบแนวคิด แบบ และรูปแบบการวิจัยเชิงประเมิน
กำนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินหรือเปรียบเทียบ และพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล
กำหนดวิะีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล
ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
จัดทำรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
ตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบในการจัดทำตัวชี้วัดแผน/โครงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
มิติ
ประเด็น
ตัวชี้วัด/ดัชนี
ตัวแปร
แหล่งข้อมูลและวิธีการได้มาของข้อมูล
เกณฑ์การพิจารณา
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ประเภทของตัวชี้วัดแผน/โครงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตัวชี้วัดการบริหารจัดการโครงการ
ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้า
ตัวชี้วัดกระบวนการ
ตัวชี้วัดผลผลิตหรือผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์
ตัวชี้วัดผลกระทบ
คุณลักษณะของตัวชี้วัดที่ดีสำหรับการวิจัยเชิงประเมิน
มีความเที่ยงตรง
มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน
มีความจำเพาะเจาะจง
มีระบบจัดเก็บข้อมูลที่ดี
เป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะของค่าตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตัวชี้วัดที่เป็นจำนวน
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าเฉลี่ย
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าร้อยละ
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าสัดส่วน
ตัวชี้วัดที่เป็นอัตราส่วน
ตัวชี้วัดที่กำหนดเป็นคะแนน
การจัดทำตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การจัดทำตัวชี้วัดเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของแผน/โครงการ
การจัดทำตัวชี้วัดเพื่อติดตาม/ประเมินผลแผน/โครงการ
การดำเนินการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แหล่งข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
บุคคล
บันทึกต่างๆขององค์กร
อนุกรมสถิติทางราชการ
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับขั้นตอนต่างๆของการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเลือกวิธีการเก็บข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิเคราะห์ข้อมูล
การเขียนรายงานผลการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สาระสำคัญซึ่งต้องกล่าวถึงในรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
ประเภทของรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
โครงสร้างของรายงานการวิจัยเชิงประเมิน