Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - Coggle Diagram
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ความหมาย
การกำหนดแนวทางการพัฒนาเศรฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อให้ประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนทุกขั้นตอนอย่ำงเป็นระบบ
ความเป็นมา
หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำแผน คือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประเทศไทยได้มีการริเริ่มจัดทำแผนพัฒนาเศรฐกิจของชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 ในสมัยรัฐบาล จอมพลสฤ์ดิ์ ธนะรัชต์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1-6
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
เน้นการพัฒนาชนบทเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนโดยขยายบริการพื้นฐานของรัฐไปสู่ชนบทให้มากขึ้น
ฟื้นฟูฐานะทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ ลดการขาดดุลการค้า เร่งระดมเงินออม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและกระจายอุตสาหกรรมไปยังส่วนภูมิภาค
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534)
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เน้นพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการบริหารในภาครัฐ เพื่อเร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
เน้นรักษาเสถียรภาพทางเศรฐกิจ ลดหนี้สินต่างประเทศ และพัฒนาอุตสาหกรรมและเกตรกรรมควบคู่กันไป
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524)
ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
เน้นสร้ำงความเป็นธรรมในสังคม โดยเน้นการกระจายรายได้ให้ทั่วถึง
เน้นฟื้นฟูเศรฐกิจ พัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ส่งเสริมการลงทุนและการจ้างงาน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 25150-2519)
กำหนดเป้าหมายลดอัตราการเพิ่มของประชากรเป็นครั้งแรก ให้เหลือร้อยละ 2.5 ต่อปี เมื่อสิ้นแผนฯ
กระจายความเจริญสู่ชนบทให้มากขึ้นและเน้นการกระจายรายได้ให้เป็นธรรม
เน้นการพัฒนาสังคมมากขึ้น ทั้งการศึกษา การอนามัยและสาธารณสุข
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514)
เน้นการลงทุนสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเศรฐกิจของประเทศ คล้ายแผนฯฉบับที่ 1
สนับสนุนการลงทุนของชาวต่างชาติและพัฒนาการผลิตทั้งภาคเกตรกรรมและอุตสาหกรรม
มุ่งพัฒนากำลังคนเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509)
จัดตั้งมหาวิทยาลัยในส่วนภูมิภาค คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ส่งเสริมการลงทุนของเอกชนในภาคอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการนำเข้า
เน้นการลงทุนสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเศรฐกิจของประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 7-12
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549)
เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและมีภูมิคุ้มกัน
เพื่อวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง ยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้เท่าทันโลก
เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทยทุกระดับ
เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเอง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)
นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฏิบัติ ควบคู่กับแนวคิดที่ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และ เป็นธรรม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)
เน้นพัฒนาคนหรือเน้นคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพความสามารถในด้านต่างๆ
เน้นการพัฒนาทีี่ทำให้เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
เพื่อเสริมสร้างสังคมที่เป็นธรรมและเป็นสังคมสันติสุข
เพื่อพัฒนาคนไทยทุกกลุ่มวัยอย่างเป็นองค์รวมทั้งทางกายใจ
เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ คุณภาพ และยั่งยืน
เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมให้เพียงพอ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539)
เน้นพัฒนากฎหมาย รัฐวิสำหกิจ และระบบราชการให้มีคุณภาพและสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม
เน้นการกระจายรายได้และพัฒนาไปสู่ภูมิภาคและชนบท
เน้นรักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เติบโตอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ
เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืนและสร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจควบคู่กับสังคม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง
การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
การลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ วางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน