Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ - Coggle Diagram
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กรอบแนวคิด
เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น
มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย ที่ยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา
เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีลักษณะพลวัตซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง มีความไม่แน่นอนและมีความเชื่อมโยงกับกระแสโลก
คุณลักษณะ
มีคุณลักษณะที่มุ่งเน้นถึงการกระทำที่มีความพอประมาณบนพื้นฐานของความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง
คำนิยาม
ความมีเหตุผล
มีเหตุผลในการตัดสินใจ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวช้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆอย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
ความพอประมาณ
ความพอดีที่อยู่ในระดับสมดุล ไม่น้อยและไม่มากจนเกินไปและไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
เงื่อนไข
คุณธรรม
มีความตระหนักในคุณธรรม
มีความซื่อสัตย์สุจริต
มีความอดทน
มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
ความรู้
ความรอบคอบ
ความระมัดระวัง
ความรอบรู้
ที่มา
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสขึ้นนับตั้งแต่ พ.ศ. 2517
เพื่อใช้เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยและเป็นการแก้ปัญหาให้รอดพ้นจากกระแสโลกาภิวัตน์
ความหมาย
หลัก -ความสามารถของชุมชน เมือง รัฐ ประเทศหรือภูมิภาค หนึ่งๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่างๆที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ
ระดับบุคคล - ความสามารถในการดำรงชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตนตามฐานะ ตามอัตภาพ ไม่หลงไหลไปตามกระแส
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ฉบับที่ 11
พัฒนาคุณภาพการศึกษาและสร้างโอกาสทางการศึกษาให้เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้คนไทยพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา
ฉบับที่ 12
ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา มุ่งสร้างคุณภาพ
ชีวิตที่ดี พัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์
ฉบับที่ 10
จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต มุ่งพัฒนาให้มีความรู้คู่คุณธรรม พึ่งตนเองและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ฉบับที่ 5-9
เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาถูกละเลย
ฉบับที่ 1-4
ให้ความสำคัญการพัฒนาเศรษฐกิจ มองข้ามการพัฒนาคน
ยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 4
การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 2
การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5
การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 1
การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 6
การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาไทย
เป้าหมายสำคัญของการขับเคลื่อน
สอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรและสาระการเรียนรู้ต่างๆ
การทำให้เด็กรู้จักความพอเพียง ปลูกผัง อบรม บ่มเพำะ ให้เด็กมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม