Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา
(left to right shunt)
Ventricular Septal Defect (VSD)
อาการและอาการแสดง
มีอาการเหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนมมีเหงื่อออก
มาก ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต
Atrial Septal Decfect (ASD)
มีรูรั่วที่ผนังกั้นระหว่างเอเตียม
อาการและอาการแสดง
มักจะไม่ค่อยมีอาการ บางรายมีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
หลอดเลือด ductus arteriosus ยังเปิดอยู่
สาเหตุ
การเกิดก่อนกำหนด
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
มักจะมาด้วยอาการของหัวใจซีกซ้ายวาย หายใจเร็ว เหงื่ออกมากเวลาดูดนม
มีการอุดกลั้นการไหลของเลือด
Aortic stenosis (AS)
มีการอุดกลั้นทางออกของเวนติเคลซ้าย
อาการและอาการแสดง
ลิ้นตีบมากจะมีอาการอ่อนเพลียง่ายเวลาเล่น เจ็บหน่าอก
Pulmonary Stenosis (PS)
มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกลั้นของเวติเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
moderate PS และ severe PS ภาวะหัวใจวาย หรือมีอาการเขียวเล็กน้อย เหนื่อยง่าย
Coarctation of the Aorta (CoA)
มีการคอดหรือการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือดductus arteriosus มาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
อาการและอาการแสดง
หายใจแรงและเร็ว เหนื่อยหอบ เหงื่อออกมาก ดูดนมช้า
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
ดูดนมแล้วเหนื่อย ต้องหยุดเป็นช่วงๆมีหายใจแรง เหงื่อออกมาก
มีอาการเขียวตามปลายมือ
ส่วนในเด็กโตมักมีประวัติอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจได้บ่อย
มีประวัติเป็นลมหรืออาการหน้ามืด
การตรวจร่างกาย
มีอาการเขียว
หายใจเร็ว หายใจลำบาก
หัวใจเต้นเร็ว
เหนื่อยง่ายเวลาที่มีกิจกรรม
เหงื่อออกมากผิดปกติ (excessive perspiration)
อาการบวม (edema)
อาการเจ็บหน้าอก (chest pain)
ผู้ป่วยมีอาการเป็นลมหมดสต
อาการเจ็บบริเวณขา
การประเมินภาวะจิตสังคม
บิดามารดาหรือผู้ป่วยโรคหัวใจที่เป็นเด็กโตมักจะวิตกกังวลกี่ยวกับความเจ็บป่วย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เนื้อเยื่อของร่างกายมีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิการทำงานของหัวใจลดลง
จำกัดกิจกรรมต่างๆ ของผู้ป่วย และดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าศีรษะสูง (semi-Fowler’s position)
ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารอ่อนรสจืด
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาจำพวกดิติตาลิสตามแผนการรักษา
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และประเมินการทำงานของหัวใจ
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่กำเนิดของบุตร
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติ
ให้ข้อมูลแก่บิดามารดาเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของบุตร
สนับสนุนให้บิดามารดาอุ้มชู และกอดรัดบุตรให้บ่อย
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อย อาจมีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
Tetralogy of Fallot (TOF หรือ TF)
มีความผิดปกติ 4อย่าง
pulmonic stenosis
ผนั่งเวติเคิลมีรูรั่วขนาดใหญ่
overriding aorta หรือ dextroposition of the aorta
right ventricular hypertrophy
อาการและอาการแสดง
มีอาการเขียวทั่วร่างกาย
ภาวะหัวใจวาย
ชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
Transposition of the Great Arteries (TGA)
มีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ
อาการและอาการแสดง
เขียวตั้งแต่แรกเกิด หอบเหนื่อย หัวใจวาย
การพยาบาล
การซักประวัติ
มีอาการเขียวเป็นพักๆและหายใจหอบลึก หอบเหนื่อยจนเป็นลมหมดสติ
มีประวัติชอบนั่งยองๆเวลารู้สึกเหนื่อย
มีอาการปวดศรีษะ
การตรวจร่างกาย
เขียวช้ำทั่วร่างกาย
ภาวะเลือดข้น
นิ้วมือนิ้วเท้าปุ้ม
ตาขาวแดง
ฝีในสมอง
การประเมินภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวล ของผู้ป่วยและบิดามารดา
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
Infective endocarditis
สาเหตุ
แบคทีเรีย เชื้อรา rickettsia
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ลักษณะไข้ต่ำ ๆ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
heart murmur
การตายของสมอง
ม้ามโต กดไม่เจ็บ
ภาวะซีด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ
ติดตามเจาะเลือดเพาะเชื้อเป็นระยะๆ
ตรวจหาแหล่งเพาะเชื้อ
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะก่อนและหรือหลังการทำหัตถการที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสเลือด
การพยาบาล
การซักประวัติ ควรซักประวัติเกี่ยวกับแหล่งการติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย ตรวจร่างกายพบเสียงฟู่ ของหัวใจ
การประเมินภาวะจิตสังคม
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ESR สูงม็ดเลือดขาวสูง ปัสสาวะมีเลือดปน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบห้าหมู่โดยเป็นอาหารที่อ่อน ย่อยง่าย
สังเกตอาการข้างเคียงของยาปฏิชีวนะ
สังเกตอาการข้างเคียงของโรค
จัดกิจกรรมการเล่นต่าง ๆ
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
อาจมีการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำได้
ดูแลสุขอนามัยรักษาความสะอาด พักผ่อนให้เพียงพอ
แนะน าบิดามารดาและ/หรือผู้ป่ วยให้ดูแลสุขภาพในช่องปาก
มาตรวจตามนัด
รับประทานยาปฎิชีวนะ
โรคหัวใจรูห์มาติค (Rheumatic Heart Disease)
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติค (rheumatic fever)
อาการและอาการแสดง
major criteria
Carditis
polyarthritis
chorea หรือ sydenham’s chorea
subcutaneous nodules
erythema marginatum
minor criteria
มีไข้ต่ำๆ เลือดกำเดาไหล ปวดท้อง เคยเป็นไข้รูห์มาติค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
thoat swab culture
antistreptolysin O (ASO) ค่า ASO ในเลือดสูงขึ้น
การวินิจฉัยโรค
Jone’s criteria
2 major criteria
1 major criteria และ 2 minor criteria
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะสำหรับกำจัดเชื้อ
ให้ยาสำหรับต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ
ให้นอนพักผ่อนให้เพียงพอ
หัวใจวายให้การรักษาโดยให้ยา digitalis
การพยาบาล
การซักประวัติ ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
การตรวจร่างกาย มีไข้ carditis, polyarthritis, chorea, erythema marginatum, subcutaneous nodule
การประเมินภาวะจิตสังคม ความกังวลเกี่ยวกับอาการปวดข้อหรือหัวใจเต้นเร็ว
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
ภาวะหัวใจวาย หรือภาวะหัวใจล้มเหลว กลุ่มอาการหรือความผิดปกตที่เกิดในระบบไหลเวียนโลหิต
สาเหตุ
ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้น
เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้าง หรือการทำหน้าที่ของหัวใจ มีผลทำให้หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายหรือรับเลือดกลับเข้าสู่หัวใจได้ตามปกติ
อาการและอาการแสดง
อาการของหัวใจซีกซ้ายวาย หายใจเร็ว ปีกจมูกบานหายใจลำบาก
อาการของหัวใจซีกขวาวาย หลอดเลือดดำที่คอโปร่งพอง
การรักษา
Ianoxin
เพิ่มแรงในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
เพิ่มการขับปัสวะออกจากร่างกายมากขึ้น
การพยาบาล
การซักประวัติ
มีประวัติการติดเชื้อบ่อย
เหนื่อยง่ายดูดนมช้า
ออกแรงแล้วมีอาการเหนื่อย
เด็กโตช้าตัวเล็กน้ำหนักน้อย
เหงื่อออกยาก ปัสสาวะน้อย
กระสับกระส่าย
หายใจแรง หัวใจเต้นเร็ว
ซีดหรือมีอาการเขียว
ความดันโลหิตสูง
Kawasaki Disease
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
ไวรัส
ริกเก็จเชีย
ตอบสนองต่ออนุมูลอิสระผิดปกติ
พยาธิสรีรวิทยา
มีการอักเสบของผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่และหลอดเลือดแดงขนาดกลางอื่นๆ และมี Platelet thrombi อุดหลอดเลือดแดง
อาการและอาการแสดง
ไข้
ไข้สูงเป็นพักๆ ใช้เวลาวัน ยกเว้นรายที่มีความปกติของหลอดเลือดแดง ไข่จะอยู่นานหลายสัปดาห์
ตาแดง
จะเป็นทั้ง2ข้างมักเห็นภายใน2-4วันแรกนับจากเป็นไข้
ปากแดง
้เห็นได้ชัดเจนตั้งแต่วันแรกๆที่เป็นโรค
การเปลี่ยนแปลงที่มือแดง เท้าผื่นและต่อมน้ำเหลืองโต
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
มีเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น มีเม็ดเลือดขาวที่อายุน้อยมากขึ้น
เกลือดเลือดสูงในสัปดาห์ที่ 2-3
เลือดจาง ESR สูงขึ้น
มีเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ
การพยาบาล
ประเมินการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือดเกี่ยวกับการมีอาการของหัวใจอักเสบ สังเกตจังหวะการเต้นของหัวใจ การเจ็บหน้าอกEKG เปลี่ยนแปลงไป (ST segment ต่ำลง) หายใจขัด หายใจลำบาก
ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนและขา
วัดชีพจร โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะให้ gamma globulin ควรสังเกตุอาการแพ้
ดูปฎิกิริยาผลค้างเคียงของยา
ป้องกันการขาดน้ำระยะเฉียบพลัน ดูแลความอยากอาหาร
ชั่งน้ำหนักทุกวันดูอาการบวมของภาวะหัวใจวาย
ระวังการติดเชื้อของผิวหนัง ป้องกันการเสียดสีและกดทับ