Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pyomyositis whit Septic Shock - Coggle Diagram
Pyomyositis whit Septic Shock
1.ความหมาย
กล้ามเนื้ออักเสบเป็นหนองร่วมกับภาวะช็อกจากการติดเชื้อ
2.ซักประวัติ
PI : ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 59 ปี รูปร่างสมส่วน รู้สึกตัวดี
ถามตอบรู้เรื่อง 5 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ เหนื่อย หอบ
เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลชุมชน (โรงพยาบาลบ้านแท่น)
ได้รับยา ATB ยาปฏิชีวนะ หรือแอนตี้ไบโอติก (Antibiotic)
ขณะเข้ารับการรักษามีปัญหา ความดันเลือดเฉลี่ยลดลง
จึงถูกส่งตัวมาเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลชัยภูมิ
สัญญาณชีพแรกรับ อุณหภูมิ 37.2 องศาเซลเซียส
ชีพจร 122 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 24 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 105/56 mmHg
CC : 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล
และมีอาการเหนื่อยหอบ หายใจสั้นๆ รู้สึกหายใจไม่ออก
ผู้ป่วยมีอาการปวด บวม แดง ร้อน บริเวณน่องด้านขวา
5.อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออักเสบ(Polymyositis)
มีอาการปวด บวม แดง ร้อน
และมีหนองคลั่งอยู่ภายใน บริเวณน่องด้านขวา
Septic shock (ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ)
ผู้ป่วยมีอาการหายใจเหนื่อยหอบ หายใจสั้นๆ หายใจลำบาก
4.พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้ออักเสบ(Polymyositis)
ผู้ป่วยมีอาการปวด บวม แดง ร้อน
และมีหนองคลั่งอยู่ภายใน บริเวณน่องด้านขวา
Septic shock (ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ)
มีการอักเสบติดเชื้อ และมีหนองคลั่งอยู่ภายในบริเวณน่องด้านขวา
หายใจเหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
3.สาเหตุ
Septic shock (ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ)
มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
มีโรคประจำตัว คือ
DM , HT , CKD , DLP , Gout , Asthma
สัญญาณชีพแรกรับ อุณหภูมิ 37.2 องศาเซลเซียส ชีพจร 122 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ 24 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 105/56 mmHg
กล้ามเนื้ออักเสบ(Polymyositis)
มีการอักเสบของกล้ามเนื้อลาย บริเวณน่องด้านขวา
6.ภาวะแทรกซ้อน
Septic shock (ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ)
หัวใจวาย ไตวาย ตับวาย ภาวะการหายใจล้มเหลว
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น
กล้ามเนื้ออักเสบ(Polymyositis)
ช็อกจากการติดเชื้อ
ไตวายเฉียบพลัน
10.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในร่างกาย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากคาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
เหนื่อย อ่อนเพลีย เนื่องจากมีภาวะซีด
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวล เกี่ยวกับการเจ็บป่วย
ไม่สุขสบาย เนื่องจากปวดแผล บริเวณน่องด้านขวา
7.การวินิจฉัย
กล้ามเนื้ออักเสบ(Polymyositis)
การตรวจภาพรังสี
การตรวจทางห้องปปฏิบัติการ
WCB=15.7 K/ul
RBC=1.21 Million/ul
Hb=3.7g/dl
Hct=11.5%
Plt.Count=650K/ul
Plt.Smear=Increase
Monocyte=10%
Septic shock (ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ)
การตรวจตามปัจจัยเสี่ยง
การตรวจทางรังสีวิทยา
การตรวจเลือด
8.การรักษา
Septic shock (ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ)
ให้ใส่หน้ากากออกซิเจนพร้อมถุงลม (Oxygen Mask With Bag)
เปิดอัตราไหล 8-10 ลิตร/นาที onintravenous
ให้ Normal saline solution 1,000 ml
ผู้ป่วยใส่สายสวนแบบคาสาย (Foley catheter)
ได้รับยาปฏิชีวนะ
Clindamycin 150 mg v Q 8 hr
Tramadol 50 mg v Q 6 hr
กล้ามเนื้ออักเสบ(Polymyositis)
การใส่สายระบายผ่านทางผิวหนัง
(Percutaneous Drainage) Short PD 1นิ้ว
ให้ยาClindamycin 150 mg v Q 8 hr
ให้ยาTramadol 50 mg v Q 6 hr
9.การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยฝึกกายบริหารท่าต่าง ๆ ด้วยตนเอง
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนยกขาข้างขวาให้สูงโดยใช้หมอนรอง เพื่อลดความตึงตัวและลดอาการปวด
แนะนำให้ออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพของกล้ามเนื้อ
แนะนำให้รับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น พวกโปรตีน เช่น เนื้อ นม ไข่ เป็นต้น เพื่อสมานแผล
ให้คำแนะนำผู้ป่วย เช่น ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำและจัดที่นอนให้เรียบตึง เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบาย พักผ่อนได้ยิ่งขึ้น
ปฏิบัติการพยาบาลด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic techniue)
ให้การพยาบาลผู้ป่วยอย่างนุ่มนวล
U//D.โรคประจำตัว
โรคเกาต์ (gout)
โรคหืด (Asthma)
โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia: DLP)
โรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease: CKD)
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension: HT)
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus: DM)