Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 4
การกำหนดมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
แนวคิดและหลักการมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
ความหมายของ
มาตรฐานการศึกษา
เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์
เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม
และกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล
และการประกันคุณภาพทางการศึกษา
ประโยชน์ของ
มาตรฐานการศึกษา
ใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับ การตรวจสอบ การนิเทศ การติดตามและประเมินผล รวมทั้งการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
มีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพและความก้าวหน้าของการจัดการศึกษา
สามารถวางหลักและแนวทางในการกำหนดนโยบายแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อเป็นมาตรฐานการศึกษาสำหรับการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา และเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในระยะต่อไป
ช่วยให้สามารถกำหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ความสำคัญของ
มาตรฐานการศึกษา
มาตรฐานถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบการประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนให้กับครู ผู้บริหาร พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วย/งานต่าง ๆ
มาตรฐานการศึกษาเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
ความสำคัญกับการจัดการศึกษา 2 ประการ ได้แก่
4.1 สถานศึกษาทุกแห่งมีเกณฑ์เปรียบเทียบกับ
มาตรฐานซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกัน
4.2 มาตรฐานทำให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนว่า
จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด
แนวคิดการจัดการศึกษา
และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีการกำกับติดตามงานสม่ำเสมอ
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษา บ้าน
และชุมชนมีความใกล้ชิดและไว้วางใจกัน
มีการกำหนดภารกิจของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มีการตั้งความคาดหวังของผลสำเร็จไว้สูง
มีความเป็นผู้นำด้านการจัดการเรียนรู้อย่างมืออาชีพทั้งครูและผู้บริหาร
แนวทางการกำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
การกำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ระดับสถานศึกษา
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระบวนการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการศึกษาต่าง ๆ
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมาย
เตรียมความพร้อมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การพัฒนามาตรฐานการศึกษา
มาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ ต้องกำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ รายละเอียดของมาตรฐาน ประเด็นพิจารณา และระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษา ประเมินตามเกณฑ์ และตัดสินคุณภาพและมาตรฐาน 3 ระดับ คือ ระดับตัวบ่งชี้ ระดับมาตรฐาน ระดับสถานศึกษา
มาตรฐานที่สถานศึกษาปฏิบัติ ประเมิน กระชับ มีจำนวนน้อย แต่สามารถสะท้อนบริบทของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาได้จริง
แนวทางการประเมินคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา
คุณภาพของผู้เรียน
ตามหลักสูตร 2551
มาตรฐานและตัวชี้วัด (ด้านความรู้ : K)
สมรรถนะสำคัญผู้เรียน (C)
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ (A)
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (ด้านทักษะกระบวนการ : P)
มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 การบริการจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรฐานที่ 3 คุณภาพของเด็กปฐมวัย
มาตรฐานที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัดประสบ การณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย