Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ
พื้นฐานทางปรัชญาของการวิจัยเชิงปริมาณ
ระเบียบการวิจัยเชิงปริมาณ
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ
เป้าหมายของการวิจัยเชิงปริมาณโดยหลักใหญ่ คือ มุ่งศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
แนวทางการวิจัยที่เชิงปริมาณใช้จะมีแบบแผนเฉพาะเจาะจงที่ชัดเจนแน่นอน
ในการวิจัยเชิงปริมาณโดยมากจะมีการตั้งคำถามวิจัยหรือสมมติฐานวิจัยที่เจาะจงไว้ก่อน
เทคนิควิธีเชิงปริมาณเป็นหัวใจของการวิจัยทุกขั้นตอน
เทคนิคการเก็บข้อมูลโดยอิงเครื่องมือวัดต่างๆ
เมื่อกล่าวถึงวิจัยเชิงปริมาณ มักจะนึกถึงรูปแบบการวิจัย 2 รูปแบบ ได้แก่ การสำรวจ กับการทดลอง
จุดมุ่งหมายและประเภทของการวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
จุดมุ่งหมายของการวิจัยเชิงปริมาณ
เพื่อการสำรวจ
เพื่อบรรยายหรือพรรณนา
เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ และทำนาย
เพื่อควบคุม
ประเภทของการวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
การวิจัยเชิงทดลอง
กระบวนการดำเนินงานวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดโจทย์ หรือปัญหาและวัตถุประสงค์
การทบทวนวรรณกรรม
การสร้างกรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย
การออกแบบการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัยและการเสนอผล
การวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงสำรวจในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงสำรวจ
จุดมุ่งหมายการวิจัยเชิงสำรวจ
ลักษณะการวิจัยเชิงสำรวจ
ข้อดีของการวิจัยเชิงสำรวจ
ข้อจำกัดของการวิจัยเชิงสำรวจ
รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ
แบ่งตามขอบเขตของคำถามการวิจัย
แบ่งตามขอบเขตประชากร
การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิจัยเชิงสำรวจ
การนำการวิจัยเชิงสำรวจไปใช้
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์
แนวคิดเรื่องการทำนาย
รูปแบบการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แคนอนิคัล
การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การนำการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ไปใช้
การเลือกตัวแปร
การเลือกใช้สถิติ
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
จุดมุ่งหมายการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
ลักษณะการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
ข้อดีของการวิจัยเชิงเปรียบสาเหตุ
ข้อจำกัดของการวิจัยเปรียบเทียบสาเหตุ
รูปแบบการวิจัยเชิงการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
รูปแบบกลุ่มเปรียบเทียบ
รูปแบบความสัมพันธ์ร่วม
การวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
การนำการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุไปใช้
การิเคราะห์การแปรปรวนแบบหลายทาง
การกำหนดกรอบทางทฤษฎี
การทดสอบสมมติฐาน
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองและแบบกึ่งทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองขั้นต้นในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการทดลองขั้นต้น
One-Shot Case Study
One Group Pretest Posttest Design
Static Group Comparison
การวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิจัยเชิงทดลอง
การนำการวิจัยเชิงทดลองไปใช้
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองจริงในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการทดลองจริง
Posttest-Only Control Group Design
Pretest Posttest Control Group Design
Solomon Four Group Design
การวิจัยเชิงปริมาณแบบกึ่งการทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบแผนการทดลองกึ่งการทดลอง
Quasi-Equivalent Control Group Design
Time Series Design
Multiple Time Series Design