Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
ผดุงครรภ์
สรุปกลไกการคลอดปกติ
Internal rotation
การหมุนของศีรษะทารกภายในช่องเชิงกราน
Extention
คลอด – ทารกเงยหน้าออกมา
Flexion
การก้มของศีรษะทารก
Restitution
ศีรษะหมุนภายนอกช่องคลอดเองเพื่อให้สมดุลกับลำตัวในช่องคลอด
Descent
ศีรษะทารกลงไปในช่องเชิงกราน
External rotation
ช่วยหมุนศีรษะภายนอกช่องคลอด
Engagement
ศีรษะทารกเข้าสู่เชิงกราน
Expulsion
ทารกคลอดไหล่ ลำตัว แขนขา (ทั้งตัว)
ระยะของการคลอด (stage of labor)
Stage 2
ปากมดลูกเปิดหมดถึงทารกคลอดทั้งตัว
G1 = 1-2 ชม. (น้อยกว่า 12 ชม.),
G2 = 1/2-1 ชม. (น้อยกว่า 1 ชม.)
Stage 3
ทารกคลอดถึงรกคลอด ระยะเวลาประมาน 5-15 นาที
(น้อยกว่า 30 นาที)
Stage 1
ระยะเริ่มต้นเจ็บครรภ์จริงถึงปากมดลูกเปิด 10 cm G1 = 8-24 ชม. (ประมาณ 12 ชม.)
G2 = 4-12 ชม. (ประมาณ 6 ชม.)
Stage 4
คลอดรกหมดถึงมารดาปกติ ระยะ 2 ชม. หลังคลอด
การพยาาลที่มีโรคร่วม
กับการตั้งครรภ์
โรคหัวใจ
แบ่งตามความรุนแรง
Class 2 ชีวิตประจำวันปกติ ทำงานเหนื่อย
Class 3 ชีวิตประจำวันเหนื่อย เช่น อาบน้ำเหนื่อย
Class 1 ปกติ ทำงานได้ปกติ
Class 4 อยู่เฉยๆก็เหนื่อย
หลักการดูแลมารดา คือ ลดการทำงานของหัวใจ
ระวัง :warning: การติดเชื้อ ป้องกันได้โดย ให้ ATB,ไม่เจาะุงน้ำคร่ำ
คลอดทางช่องคลอด ใช้ Forcepช่วย / ไม่เร่งคลอด เลี่ยงท่านอนหงายชันเช่า(lithotomy)
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ความเสี่ยงต่ำ :check: ไม่ตรวจคัดกรอง ยกเว้นว่า ตรวจพบน้ำตาลใน UA, BW ขึ้น
ความเสี่ยงสูง :red_cross: เช่น แม่อายุ 35 ปี,อ้วนมาก BMI เกิน,มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน ต้องตรวจคัดกรอง โดยการกินน้ำตาล 50 g (GCT/GST) ถ้าน้อยกว่า 140 ให้ตรวจ confirm vud8iyh' GA 24-28 wk แต่ถ้ามากกว่า 140 ให้กินน้ำตาล 100 g ถ้าผิดปกติมากกว่า 2 ค่า ถือว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ A1: ให้คุมอาการ A2:ให้ฉีด insulin
ผลกระทบ แม่: แท้ง ติดเชื้อ ลูก: hypoglycemia เด็กตัวโต เกิด RDS ง่าย
ภาวะแทรกซ้อน :ถ้าแม่คุมน้ำตาลไม่ดีทารกเกิด (Caudal regression)
Hepatitis B
เชื้อมีโอกาสแพร่สู่ลูกขณะคลอดไม่ว่าจะผ่าตัดหรือคลอดเองดังนั้นไม่ควรเจาะถุงน้ำคร่ำ เมื่อคลอดเสร็จต้องรีบทำความสะอาด ให้มากที่สุด (suction+ อาบน้ำ) สามารถให้นมแม่ได้ ยกเว้น :!: มารดาหัวนมแตก / มีแผล
Syphilis
เชื้อไปสู่ลูกได้ เมื่อ GA มากกว่า 16 wks รกมีกลไกของ langhan epithelial layer ของ cytophoblast ป้องกันเชื้อในทารก
มี 2 ระยะ - Early : ระยะนี้เชื้อมีดอกาสสู่ลูก congenital syphilis แท้ง perterm พิการ
Late
ระยะการคลอด
ระยะที่หนึ่งของการคลอด (First stage of labor)
ระยะนี้ปากมดลูกเริ่มเปิดขยาย 0-10 เซนติเมตร หรือกว้างพอที่ทารกจะผ่านออกมาได้ ใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 12 ชั่วโมง
ระยะปากมดลูกเปิดช้า (Latent phase)
การเปิดขยายของปากมดลูกจะเป็นไป
อย่างช้าๆ มดลูกหดรัดตัวทุก 5-10 นาที นาน 30-45 วินาที มดลูก เปิด 3 cm
ครรภ์แรกใช้เวลาประมาณ 9 ชั่วโมง ครรภ์หลังใช้เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว (Active phase)
เป็นระยะการเปิดขยายของปากมดลูก
อย่างรวดเร็ว มดลูกหดรัดตัวทุก 2-5 นาที นาน 45-60 วินาที มดลูกเปิด 4-7 cm ครรภ์แรกใช้เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง
ครรภ์หลังใช้เวลาประมาณ 4 ชั่วโมง
ระยะ Acceleration ปากมดลูกเปิดขยาย 3-4 cm
ระยะ Phase of maximum slop ปากมดลูกเปิดขยายอย่างรวดเร็ว จาก 4-9 cm
ระยะ Deceleration ปากมดลูกเริ่มเปิดขยายช้าลง จาก 9-10
cm
ระยะปากมดลูกเปลี่ยนผ่าน
(Transitional phase)
ปากมดลูกเปิดหมด 8-10 cm มีการบางของปากมดลูกประมาณ 80-100 %
การเคลื่อนต่ำของส่วนน าในมารดาครรภ์แรกจะอยู่ station +2 ถึง +3
ครรภ์แรกใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ครรภ์หลังใช้เวลาประมาณ 30 นาที
ระยะที่สองของการคลอด
(Second stage of labor)
เริ่มตั้งแต่ปากมดลูก เปิด 10 เซนติเมตร จนกระทั่งทารกคลอดหมดทั้งตัว
ครรภ์แรกใช้เวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง ครรภ์หลังใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง
1.Early หรือ Late phase
ระยะนี้ใช้เวลา 10-30 นาที
ช่วงที่ ต่อจาก ปากมดลูกเปิดหมดมารดามีอาการสงบลง สามารถนอนพักได้ช่วงเวลาสั้น
Descent หรือ Active phase
ช่วงเวลาที่ส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมาเห็น Labia minora แยกจากกันและเห็นส่วนนำทารกเห็นส่วนที่กว้างที่สุดของส่วนนำ (Crowning) และส่วนนำจะไม่กลับเข้าไปอีกแม้ว่ามดลูกมีการคลายตัว
3.Perineal phase
ช่วงที่ฝีเย็บเริ่มบางโปุงตึงการหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงมากขึ้น มารดาเริ่มมีการเบ่งคลอด
ระยะที่สามของการคลอด (Third stage of labor)
ช่วงรกลอกตัว
(Placenta separation)
การดึงรั้งระหว่างพื้นทีของผนังมดลูกและรกจนเกิดการฉีก
ขาด ทำให้รกหลุดลอกออกจากผนังมดลูกได้
มดลูกยังคงมีการ
หดรัดตัวแรงและลดขนาดลงอย่างรวดเร็ว
เริ่มตั้งแต่หลัง ทารกคลอดออกมาหมดทั้งตัว จนกระทั่งรกและเยื่อหุ้มทารกคลอดออกมาครบ ไม่เกิน 30 นาที
ช่วงรกคลอด (Placental expulsion)
หลังจากรกลอกตัวออกจากผนังมดลูก มดลูก
ยังคงมีการหดรัดตัวอยู่จึงทำให้รกถูกขับออกมารกจะถูกขับออกมาโดยใช้เวลา นานประมาณ 5-30 นาทีหลังรกคลอดต้องคลึงมดลูกให้แข็งเพื่อปูองกันการสูญเสียเลือด
ระยะที่สี่ของการคลอด (Fourth stage of labor)
ร่างกายมารดาเริ่มมีการปรับตัวเพื่อกลับสู่สภาวะปกติ
ระยะที่นับจากหลังรกคลอดแล้ว
จนถึง 2 ชั่วโมงหลังคลอด
ระยะนี้อาจเกิด
ภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะตกเลือดหลังคลอด
ความรู้เกี่ยวกับการคลอด
Normal labor
GA 37-42 wks
คลอดเอง (ไม่เครื่องช่วย)
ส่วนนำ : ยอดศรีษะ (vertex presentation)
ระยะเจ็บครรภ์ถึงรกคลอดไม่เกิน 24 ชั่วโมง
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
Abnormal labor
ต้องช่วยคลอดใช้เครื่องมือ V/E F/E C/S
มีภาวะแทรกซ้อน
ตรงข้ามกับ normal labor
ส่วนนำผิดปกติ
การเจ็บครรภ์คลอด (labor pain)
เจ็บครรภ์จริง
CX นุ่ม,dilate
มีมูกเลือด / ไม่มี
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ ถี่แรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปวดบริเวณหลังส่วนล่างร้าวมาหน้าขา (ฉีดยาไม่หายปวด)
เจ็บครรภ์เตือน
CX ปิด
ไม่มีสารคัดหลั่ง
มดลูกหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ ความถี่รุนแรงเท่าๆเดิม
(หายปวดเมื่อฉีดยา)
ประวัติที่นำผู้คลอดมา รพ.
มีน้ำเดิน / ถุงน้ำคร่ำแตก
*ถ้าส่วนนำยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน
ระวัง :warning:สายสะดือถูกกด (ห้ามเดิน :red_cross:)
ถ้าถุงน้ำแตก มากกว่า 24 ชม
ระวัง :warning:ติดเชื้อ
มูก / มูกปนเลือด
ถ้าเป็นเลือดสด ต้องระวัง :warning:
ภาวะรกเกาะต่ำ, รกลอกตัวก่อนกำหนด